ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50130000

Home Home SED


**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

(1) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้ามหายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(5) ร้อยละความสำเร็จในการสนับสนุนการพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ร้อยละความสำเร็จในการสนับสนุนการพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
68.00

100 / 100
3
88.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.จัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและตรวจแนะนำสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตมีนบุรี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.จัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและตรวจแนะนำสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตมีนบุรี 67 แห่ง (จากกลุ่มเป้าหมาย 99 แห่ง )

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.จัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและตรวจแนะนำสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตมีนบุรี 87 แห่ง (จากกลุ่มเป้าหมาย 99 แห่ง )

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.จัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและตรวจแนะนำสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตมีนบุรี 99 แห่ง (จากกลุ่มเป้าหมาย 99 แห่ง )

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(6) พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม/จัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่เขต จำนวน 4 จุด ได้แก่ 1 สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 2 หน้าโรงเรียนมีนบุรี 3 ปากซอยรามอินทรา 127 4 หน้าโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 2. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการ/จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่ในการปฏิบัติงานตรามโครงงการฯ 3. ติดตั้งตู้เขียว/ทำสมุดลงลายชื่อเจ้าหน้าที่ประจำจุดตรวจ 4. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 7. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 8. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 9. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 10. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 11. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) ร้อยละของความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ร้อยละของความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :112.81


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
121.56

100 / 100
2
128.75

100 / 100
3
105.31

100 / 100
4
112.81

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ดำเนินการจัดทำแผนติดตั้งไฟฟ้าส่งสำนักการโยธา 2.กำหนดเป้าหมายการติดตั้งไฟฟ้า จำนวน 20 ดวง เป้าหมายซ่อมแซม จำนวน 300 ดวง 3.ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน ต.ค. - ธ.ค. 63 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน ต.ค. - ธ.ค. 63 รายการซ่อมแซม จำนวน 389 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน ม.ค. - มี.ค 64 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน ม.ค. - มี.ค 64 รายการซ่อมแซม จำนวน 412 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน เม.ย. - มิ.ย. 64 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน เม.ย. - มิ.ย. 64 รายการซ่อมแซม จำนวน 337 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน ก.ค. - ก.ย. 64 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน ก.ค. - ก.ย. 64 รายการซ่อมแซม จำนวน 361 ดวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(8) ร้อยละของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เลื่อนการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยยาเสพติดจากวันที่ 22 ธันวาคม 2563 เป็นวันที่ 24 มกราคม 2564 เนื่องจากการแพร่ระบาดโรคโควิด 19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตามกำหนดมีการเลื่อนการฝึกอบรมจากเดือนธันวาคม 2563 เป็นอบรมในเดือนมกราคม 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบายโรคโควิดยังไม่คลี่คลายจึงเลื่อนการอบรมไม่มีกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์การระบายโรคโควิดยังไม่คลี่คลายจึงเลื่อนการอบรมไม่มีกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กิจกรรมพัฒนาศักภาพยกเลิกโครงการและส่งคืนเงินเข้างบกลางเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมของอาสาสมัครกทม.เฝ้าระวังภัยฯ ดำเนินการแล้ว โดยไม่ใช้งบประมาณและส่งคืนเงินเข้างบกลางเรียบร้อยแล้ว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระเบิดของโรคโควิด 19 จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมบางกิจกรรมได้ ส่วนรกิจกรรมที่ดำเนินการได้เป็นการจัดกิจกรรมผ่านสื่อสั่งคมออนไลน์โดยไม่มีการรสมกบลุ่มของอามาสมัครฯ แต่อย่างใด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(9) ร้อยละของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เลื่อนการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยยาเสพติดจากวันที่ 22 ธันวาคม 2563 เป็นวันที่ 24 มกราคม 2564 เนื่องจากการแพร่ระบาดโรคโควิด 19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตามกำหนดมีการเลื่อนการฝึกอบรมจากเดือนธันวาคม 2563 เป็นอบรมในเดือนมกราคม 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบายโรคโควิดยังไม่คลี่คลายจึงเลื่อนการอบรมไม่มีกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์การระบายโรคโควิดยังไม่คลี่คลายจึงเลื่อนการอบรมไม่มีกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กิจกรรมพัฒนาศักภาพยกเลิกโครงการและส่งคืนเงินเข้างบกลางเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมของอาสาสมัครกทม.เฝ้าระวังภัยฯ ดำเนินการแล้ว โดยไม่ใช้งบประมาณและส่งคืนเงินเข้างบกลางเรียบร้อยแล้ว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระเบิดของโรคโควิด 19 จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมบางกิจกรรมได้ ส่วนรกิจกรรมที่ดำเนินการได้เป็นการจัดกิจกรรมผ่านสื่อสั่งคมออนไลน์โดยไม่มีการรสมกบลุ่มของอามาสมัครฯ แต่อย่างใด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(10) ร้อยละของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีการจัดสภาพแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีการจัดสภาพแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
40.00

100 / 100
2
80.00

100 / 100
3
80.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด 3. ตรวจแนะนำ ติดตามผลการดำเนินการครบทั้ง 13 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด 3. ตรวจแนะนำ ติดตามผลการดำเนินการครบทั้ง 13 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด 3. ตรวจแนะนำ ติดตามผลการดำเนินการครบทั้ง 13 แห่ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(11) ร้อยละของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีการจัดสภาพแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีการจัดสภาพแวดล้อมปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
40.00

100 / 100
2
80.00

100 / 100
3
80.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด 3. ตรวจแนะนำ ติดตามผลการดำเนินการครบทั้ง 13 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด 3. ตรวจแนะนำ ติดตามผลการดำเนินการครบทั้ง 13 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 13 แห่ง จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ตรวจแนะนำในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด 3. ตรวจแนะนำ ติดตามผลการดำเนินการครบทั้ง 13 แห่ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)

(12) ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
32.00

100 / 100
2
65.00

100 / 100
3
92.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 20 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 41 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 65 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 70 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(13) ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
32.00

100 / 100
2
65.00

100 / 100
3
92.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 20 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 41 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 65 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในชุมชน 70 ครั้ง (จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
40.38

100 / 100
3
67.55

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 64 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265แห่ง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 107 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265 แห่ง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 179 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265 แห่ง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 240 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265 แห่ง แจ้งเลิกกิจการ 25 แห่ง เหลือ 240 แห่ง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(15) จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ภูมิปัญญา

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิปัญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเสนอขออนุมัติงบประมาณ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว - อยู่ระหว่างประชาสัมพันธ์และรับสมัครเพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - ประสานงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดและจัดซื้อวัสดุเพื่อประชาสัมพันธ์เรียบร้อยแล้ว - ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2564 สาขาศิลปกรรม ได้แก่ ภูมิปัญญามวยไชยา โดย นายประเสริฐ ยาและ - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดและจัดซื้อวัสดุเพื่อประชาสัมพันธ์เรียบร้อยแล้ว - ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2564 สาขาศิลปกรรม ได้แก่ ภูมิปัญญามวยไชยา โดย นายประเสริฐ ยาและ - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว - จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เล่มภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตมีนบุรีเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(16) จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ภูมิปัญญา

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิปัญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเสนอขออนุมัติงบประมาณ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว - อยู่ระหว่างประชาสัมพันธ์และรับสมัครเพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - ประสานงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดและจัดซื้อวัสดุเพื่อประชาสัมพันธ์เรียบร้อยแล้ว - ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2564 สาขาศิลปกรรม ได้แก่ ภูมิปัญญามวยไชยา โดย นายประเสริฐ ยาและ - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดและจัดซื้อวัสดุเพื่อประชาสัมพันธ์เรียบร้อยแล้ว - ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2564 สาขาศิลปกรรม ได้แก่ ภูมิปัญญามวยไชยา โดย นายประเสริฐ ยาและ - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว - จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เล่มภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตมีนบุรีเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(17) จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :3.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
2.00

100 / 100
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่างๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - ธันวาคม 2563 ยอดรวม 249 คน 2. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 2 กิจกรรม ได้แก่ 2.1 กิจกรรมที่ 1 การจัดงานตักบาตรเทโวโรหณะ เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา ประจำปี 2563 ในวันที่ 3 ต.ค. 63 ณ วัดแสนสุข 2.2 กิจกรรมที่ 2 การจัดงานพิธีบวงสรวงถวายราชสดุดีและวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช ประจำปี 2562 ในวันที่ 23 ต.ค. 63 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 3. งดการจัดงานกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ 1 กิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 3.1 กิจกรรมที่ 3 การจัดงานประเพณีลอยกระทง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่าง ๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564 ยอดรวม 324 คน 2. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 2 กิจกรรม 3. งดการจัดงานกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ 1 กิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่าง ๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564 ยอดรวม 412 คน 2. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 2 กิจกรรม 3. งดการจัดงานกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ 3 กิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่าง ๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ยอดรวม 434 คน 2. ประกาศปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรี เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 2.1 ตั้งแต่วันที่ 26 เมษายน – 9 พฤษภาคม 2564 2.2 ตั้งแต่วันที่ 1-31 พฤษภาคม 2564 2.3 ตั้งแต่วันที่ 1-13 มิถุนายน 2564 2.4 ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม - 30 กันยายน 2564 3. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 2 กิจกรรม ได้แก่ 3.1 กิจกรรมที่ 1 การจัดงานตักบาตรเทโวโรหณะ เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา ประจำปี 2563 ในวันที่ 3 ต.ค. 63 ณ วัดแสนสุข 3.2 กิจกรรมที่ 2 การจัดงานพิธีบวงสรวงถวายราชสดุดีและวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช ประจำปี 2562 ในวันที่ 23 ต.ค. 63 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 4. งดการจัดงานกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ 3 กิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 4.1 กิจกรรมที่ 3 การจัดงานวันลอยกระทง ประจำปี 2563 (ตามหนังสือที่ กท 5210/724 ลว. 30 ต.ค. 63) 4.2 กิจกรรมที่ 4 การจัดงานสืบสานตำนานสงกรานต์เมืองมีน (ตามหนังสือที่ กท 5210/231 ลว. 7 เม.ย. 64) 4.3 กิจกรรมที่ 5 การจัดงานวันรอมฎอนสัมพันธ์ (ตามหนังสือที่ กท 5210/331 ลว. 4 มิ.ย. 64) 4.4 กิจกรรมที่ 6 การจัดงานหล่อและแห่เทียนพรรษา เนื่องในเทศกาลวันเข้าพรรษา (ตามหนังสือที่ กท 5210/438 ลว. 3 ส.ค. 64) 4.5 กิจกรรมพิเศษ (ตามหนังสือที่ กท 5210/439 ลว. 3 ส.ค. 64)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม

(18) ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ฝ่ายโยธา ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนตุลาคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 23 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 23 ราย 2. เดือนพฤศจิกายน 2563 มีการอนุญาต จำนวน 27 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 27 ราย 3. เดือนธันวาคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 22 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 22 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายโยธา ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนมกราคม 2564 มีการอนุญาต จำนวน 13 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 13 ราย 2. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีการอนุญาต จำนวน 33 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 33 ราย 3. เดือนมีนาคม 2564 มีการอนุญาต จำนวน 35 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 35 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายโยธา ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนเมษายน 2564 มีการอนุญาต จำนวน 13 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 29 ราย 2. เดือนพฤษภาคม 2564 มีการอนุญาต จำนวน 33 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 26 ราย 3. เดือนมิถุนายน 2564 มีการอนุญาต จำนวน 35 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 48 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายโยธา ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนกรกฎาคม 2564 มีการอนุญาต จำนวน 21 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 21 ราย 2. เดือนสิงหาคม 2564 มีการอนุญาต จำนวน 26 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 26 ราย 3. เดือนกันยายน 2564 มีการอนุญาต จำนวน 28 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 28 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(19) ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน รายละเอียด ดังน้ 1. เดือนตุลาคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 21 ราย (จำนวนบ้าน 45 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 21 ราย (จำนวนบ้าน 45 หลัง) 2. เดือนพฤศจิกายน 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 17 ราย (จำนวนบ้าน 24 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 17 ราย (จำนวนบ้าน 24 หลัง) 3. เดือนธันวาคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 29 ราย (จำนวนบ้าน 58 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 29 ราย (จำนวนบ้าน 58 หลัง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนมกราคม 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมาย ประจำบ้าน จำนวน 34 ราย (จำนวนบ้าน 34 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 34 ราย (จำนวนบ้าน 34 หลัง) 2. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 27 ราย (จำนวนบ้าน 106 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัส ประจำบ้าน จำนวน 27 ราย (จำนวนบ้าน 106 หลัง) 3. เดือนมีนาคม 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมาย ประจำบ้าน จำนวน 31 ราย (จำนวนบ้าน 40 หลัง) และลงจุด แสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 31 ราย (จำนวนบ้าน 40 หลัง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนเมษายน 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมาย ประจำบ้าน จำนวน 25 ราย (จำนวนบ้าน 46 หลัง) และลงจุด แสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 25 ราย (จำนวนบ้าน 46 หลัง) 2. เดือนพฤษภาคม 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 25 ราย (จำนวนบ้าน 32 หลัง) และลงจุด แสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 25 ราย (จำนวนบ้าน 32 หลัง) 3. เดือนมิถุนายน 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 23 ราย (จำนวนบ้าน 23 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 23 ราย (จำนวนบ้าน 23 หลัง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนกรกฎาคม 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 13 ราย (จำนวนบ้าน 14 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 13 ราย (จำนวนบ้าน 14 หลัง) 2. เดือนสิงหาคม 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 20 ราย (จำนวนบ้าน 20 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 20 ราย (จำนวนบ้าน 20 หลัง) 3. เดือนกันยายน 2564 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 11 ราย (จำนวนบ้าน 24 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสบ้าน จำนวน 11 ราย (จำนวนบ้าน 24 หลัง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(20) จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :4.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
4.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. นำคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกำหนด 2.1 นำคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ไปประชุมคัดเลือกผู้แทนกลุ่มกรุงเทพฯ ตะวันออก ในวันที่ 29 พ.ย. 63 ณ สำนักงานเขตลาดกระบัง 2.2 นำสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 5-6 ธ.ค. 63 ณ โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา ชะอำ บีช รีสอร์ท อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 3. การประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี จำนวน 2 ครั้ง 3.1 จัดประชุมสามัญประจำปี 2563 สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ในวันที่ 14 พ.ย. 63 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง เพื่อแจ้งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2563 และสนับสนุนให้มีการเลือกตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ทดแทนตำแหน่งที่หมดวาระ 3.2 ประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เพื่อหารือแนวทางการดำเนินงานของสภาเด็กฯ ในวันที่ 15 ธ.ค. 63

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. รับสมัครและแต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. การประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี จำนวน 1 ครั้ง - จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ในวันที่ 19 ก.พ. 64 เพื่อหารือการเขียนโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. กิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี 2.1 วันที่ 26 มิ.ย. 64 เข้าร่วมกิจกรรมเดินรณรงค์เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก ณ ชุมชนหมู่บ้านเค.ซี.ร่มเกล้า ซ.ร่มเกล้า 18 แขวงมีนบุรี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. นำคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกำหนด 2.1 นำคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ไปประชุมคัดเลือกผู้แทนกลุ่มกรุงเทพฯ ตะวันออก ในวันที่ 29 พ.ย. 63 ณ สำนักงานเขตลาดกระบัง 2.2 นำสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 5-6 ธ.ค. 63 ณ โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา ชะอำ บีช รีสอร์ท อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 2.3 นำคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุม ผ่านระบบออนไลน์ ในวันที่ 10 ก.ค. 64 3. กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี จำนวน 3 ครั้ง 3.1 จัดประชุมสามัญประจำปี 2563 สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ในวันที่ 14 พ.ย. 63 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง เพื่อแจ้งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2563 และสนับสนุนให้มีการเลือกตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ทดแทนตำแหน่งที่หมดวาระ 3.2 ประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เพื่อหารือแนวทางการดำเนินงานของสภาเด็กฯ ในวันที่ 15 ธ.ค. 63 3.3 จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ในวันที่ 19 ก.พ. 64 เพื่อหารือการเขียนโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน 4. กิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี จำนวน 1 ครั้ง 4.1 วันที่ 26 มิ.ย. 64 เข้าร่วมกิจกรรมเดินรณรงค์เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก ณ ชุมชนหมู่บ้านเค.ซี.ร่มเกล้า ซ.ร่มเกล้า 18 แขวงมีนบุรี 5. งดการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 (ตามหนังสือที่ กท 5210/446 ลว. 5 ส.ค. 64)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(21) ร้อยละความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ตามประมาณการ
[มิติที่ 1 : ]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ร้อยละความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ตามประมาณการ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :47.63

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
15.87

100 / 100
3
37.33

100 / 100
4
47.63

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการเร่งรัดจัดเก็บภาษีตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.63-23 ธ.ค.63 มีผลการจัดเก็บดังนี้ -ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จัดเก็บได้ 55 ราย เป็นเงิน 2,149,482.38 บาท -ภาษีบำรุงท้องที่ จัดเก็บได้ 1,422 ราย เป็นเงิน 306,079.72 บาท -ภาษีป้าย จัดเก็บได้ 119 ราย เป็นเงิน 561,017.40 บาท -ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จัดเก็บได้ 1,308 ราย เป็นเงิน 3,408,239.33 บาท รวมจัดเก็บได้ทั้งสิ้น 2,904 ราย เป็นเงิน 6,424,808.83 บาท คิดเป็นร้อยละ - (ยังไม่สามารถคิดเป็นร้อยละได้เนื่องจากสำนักการคลังยังไม่ได้กำหนดเป้าหมายประมาณการรายรับ)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการเร่งรัดจัดเก็บภาษีตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.63-64 มีผลการจัดเก็บภาษี ดังนี้ -ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จัดเก็บได้ 82 ราย เป็นเงิน 2,784,806.36 บาท -ภาษีบำรุงท้องที่ จัดเก็บได้ 1,648 ราย เป็นเงิน 390,790.91 บาท -ภาษีป้าย จัดเก็บได้ 948 ราย เป็นเงิน 11,646,136.98 บาท -ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จัดเก็บได้ 3,083 ราย เป็นเงิน 4,910,031.57 บาท รวมทั้งสิ้น 5,761 ราย เป็นเงิน 19,731,765.82 บาท คิดเป็นร้อยละ 15.87 ของประมาณการรายรับ ที่สำนักการคลังกำหนด (124,300.000.-บาท)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการเร่งรัดจัดเก็บภาษีตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.63-24 มิ.ย.64 มีผลการจัดเก็บ ดังนี้ -ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จัดเก็บได้ จำนวน 138 ราย เป็นเงิน 3,605,228.50 บาท -ภาษีบำรุงท้องที่ จัดเก็บได้ 1,874 ราย เป็นเงิน 443,987.49 บาท -ภาษีป้าย จัดเก็บได้ 1,899 ราย เป็นเงิน 23,336037.66 บาท -ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 13,909 ราย เป็นเงิน 19,010,899.30 บาท รวมทั้งสิ้น 17,820 ราย เป็นเงิน 46,396,152.95 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.33 ของประมาณการรายรับ ที่สำนักการคลังกำหนด (124,300,000.00 บาท)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

22/09/2564 :ดำเนินการเร่งรัดจัดเก็บภาษีตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.63-15 ก.ย.2564 มีผลการจัดเก็บ ดังนี้ -ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จัดเก็บได้ จำนวน 203 ราย เป็นเงิน 6,927,159.69 บาท คิดเป็นร้อยละ 98.96 ของประมาณการ(7,000,000.-บาท) -ภาษีบำรุงท้องที่ จัดเก็บได้ 1,980 ราย เป็นเงิน 506,428.19 บาท คิดเป็นร้อยละ 168.81 ของประมาณการ(300,000.-บาท) -ภาษีป้าย จัดเก็บได้ 1,961 ราย เป็นเงิน 23,796.158.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 108.16 ของประมาณการ (22,000,000.- บาท) -ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 18,309 ราย เป็นเงิน 27,969,465.21 บาท คิดเป็นร้อยละ 29.44 ของประมาณการ (95,000,000.-บาท) รวมทั้งสิ้น 22,453 ราย เป็นเงิน 59,199,211.89 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.63 ของประมาณการรายรับ ที่สำนักการคลังกำหนด (124,300,000.00 บาท)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด