**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาสงสัยล่าช้า จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 ซึ่งเด็กได้เข้ารับการรักษาแล้วที่โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- ไม่พบเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่สงสัยล่าช้าเพิ่ม ประกอบกับมีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM ได้
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาสงสัยล่าช้า จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 ซึ่งเด็กได้เข้ารับการรักษาแล้วที่โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- ไม่พบเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่สงสัยล่าช้าเพิ่ม ประกอบกับมีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM ได้
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาสงสัยล่าช้า จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 ซึ่งเด็กได้เข้ารับการรักษาแล้วที่โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- ไม่พบเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่สงสัยล่าช้าเพิ่ม ประกอบกับมีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM ได้
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาสงสัยล่าช้า จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.95 ซึ่งเด็กได้เข้ารับการรักษาแล้วที่โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- ไม่พบเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่สงสัยล่าช้าเพิ่ม ประกอบกับมีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM ได้
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กตามแนวทาง DSPM จำนวน 4 ศูนย์ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 พบเด็กก่อนวัยเรียนคนเดิมมีพัฒนาการล่าช้าและเด็กยังคงเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมการสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ประชาสัมพันธ์การสรรหาภูมิปัญญาให้ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนทราบ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมการสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ประชาสัมพันธ์การสรรหาภูมิปัญญาให้ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนทราบ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมการสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ประชาสัมพันธ์การสรรหาภูมิปัญญาให้ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนทราบ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมการสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ประชาสัมพันธ์การสรรหาภูมิปัญญาให้ชมรมผู้สูงอายุ ชุมชนทราบ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
ดำเนินการประสานภูมิปัญญาผู้สูงอายุ เพื่อดำเนินการถ่ายทอดภูมิปัญญาในกิจกรรมประเพณีสงกรานต์ที่จะจัดขึ้นใวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :เครือข่าย เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมจัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็ก ฯ ครั้งที่ 2/2564 ในวันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม 2564 ระหว่างเวลา 09.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ เพื่อแจ้งข่าวสารข้อมูลให้กับสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตทราบ พร้อมกำหนดการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการเด็กและเยาวชนเขต ประจำปี 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนพฤษภาคม 2564 และดำเนินการส่งรายชื่อสมาชิกสภาเด็กและเยาชนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการสมัชชาพัฒนาเด็กและเยาวชน รุ่นที่ 3 ใวันที่ 3-4 เมษายน 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนสิงหาคม 2564
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :เครือข่าย เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมจัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็ก ฯ ครั้งที่ 2/2564 ในวันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม 2564 ระหว่างเวลา 09.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ เพื่อแจ้งข่าวสารข้อมูลให้กับสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตทราบ พร้อมกำหนดการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการเด็กและเยาวชนเขต ประจำปี 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนพฤษภาคม 2564 และดำเนินการส่งรายชื่อสมาชิกสภาเด็กและเยาชนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการสมัชชาพัฒนาเด็กและเยาวชน รุ่นที่ 3 ใวันที่ 3-4 เมษายน 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนสิงหาคม 2564
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :เครือข่าย เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมจัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็ก ฯ ครั้งที่ 2/2564 ในวันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม 2564 ระหว่างเวลา 09.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ เพื่อแจ้งข่าวสารข้อมูลให้กับสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตทราบ พร้อมกำหนดการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการเด็กและเยาวชนเขต ประจำปี 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนพฤษภาคม 2564 และดำเนินการส่งรายชื่อสมาชิกสภาเด็กและเยาชนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการสมัชชาพัฒนาเด็กและเยาวชน รุ่นที่ 3 ใวันที่ 3-4 เมษายน 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนสิงหาคม 2564
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :เครือข่าย เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :0.00 |
เตรียมจัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็ก ฯ ครั้งที่ 2/2564 ในวันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม 2564 ระหว่างเวลา 09.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ เพื่อแจ้งข่าวสารข้อมูลให้กับสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตทราบ พร้อมกำหนดการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการเด็กและเยาวชนเขต ประจำปี 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนพฤษภาคม 2564 และดำเนินการส่งรายชื่อสมาชิกสภาเด็กและเยาชนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการสมัชชาพัฒนาเด็กและเยาวชน รุ่นที่ 3 ใวันที่ 3-4 เมษายน 2564
ดำเนินการขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนจากเดือนมีนาคม 2564 เป็นเดือนสิงหาคม 2564
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :อย่างน้อย/ครั้ง เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :2.00 |
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86 * อยู่ระหว่างการวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 3 ซึ่งยังไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 *
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :อย่างน้อย/ครั้ง เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :2.00 |
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86 * อยู่ระหว่างการวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 3 ซึ่งยังไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 *
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :อย่างน้อย/ครั้ง เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :2.00 |
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86 * อยู่ระหว่างการวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 3 ซึ่งยังไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 *
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :อย่างน้อย/ครั้ง เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :2.00 |
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87
จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86 * อยู่ระหว่างการวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 3 ซึ่งยังไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 *
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 50 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ร้อยละ 87 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 19 - 25 มีนาคม 2564 ณ วัดราษฎร์บูรณะ มีร้านค้าเข้าร่วม จำนวน 80 ร้าน และได้สำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 86
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 36 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 36 โครงการ = 721 หารด้วย 36 เฉลี่ยร้อยละ 20.027
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 38 โครงการ = 1,839 หารด้วย 38 เฉลี่ยร้อยละ 48.39
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 ความก้าวหน้าโครงการ ทั้งหมด 38 โครงการ = 2693 หารด้วย 38 เท่ากับ 70.868
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 ความก้าวหน้าของโครงการทั้งหมด 38 โครงการ ดำเนินากรสำเร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 100
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 36 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 36 โครงการ = 721 หารด้วย 36 เฉลี่ยร้อยละ 20.027
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 38 โครงการ = 1,839 หารด้วย 38 เฉลี่ยร้อยละ 48.39
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 ความก้าวหน้าโครงการ ทั้งหมด 38 โครงการ = 2693 หารด้วย 38 เท่ากับ 70.868
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 ความก้าวหน้าของโครงการทั้งหมด 38 โครงการ ดำเนินากรสำเร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 100
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 36 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 36 โครงการ = 721 หารด้วย 36 เฉลี่ยร้อยละ 20.027
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 38 โครงการ = 1,839 หารด้วย 38 เฉลี่ยร้อยละ 48.39
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 ความก้าวหน้าโครงการ ทั้งหมด 38 โครงการ = 2693 หารด้วย 38 เท่ากับ 70.868
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 ความก้าวหน้าของโครงการทั้งหมด 38 โครงการ ดำเนินากรสำเร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 100
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 36 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 36 โครงการ = 721 หารด้วย 36 เฉลี่ยร้อยละ 20.027
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 ความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 38 โครงการ = 1,839 หารด้วย 38 เฉลี่ยร้อยละ 48.39
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 ความก้าวหน้าโครงการ ทั้งหมด 38 โครงการ = 2693 หารด้วย 38 เท่ากับ 70.868
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงาน จำนวน 38 โครงการ/กิจกรรม ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัดร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 ความก้าวหน้าของโครงการทั้งหมด 38 โครงการ ดำเนินากรสำเร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 100
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 319/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการเขตราษฎร์บูรณะ เป็นประธานกรรมการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตราษฎร์บุรณะ เป็นรองประธานกรรมการ หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายเป็นกรรมการ หัวหน้าฝ่ายปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ และนักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติากร/ชำนาญการ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ซึ่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ขั้นตอนที่ 1 การค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยฝ่ายปกครองเวียนแจ้งทุกฝ่ายให้ค้นหาปัญหา หรือความต้องการที่่จะพัฒนางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ส่งให้ฝ่ายปกครองตามหนังสือที่ กท 6301/1679 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563 2. ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกแนวคิดที่ไ้ด้จากขั้นตอนที่ 1 โดยฝ่ายปกครอง ได้กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 3.19/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 เพื่อคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ในวันพุธที่ 16 ธันวาคม 2563 เวลา 11.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ โดยฝ่ายปกครองรวบรวมแนวคิด ทั้งหมด 15 แนวคิดจากทุกฝ่ายเพื่อให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าวคัดเลือก ผลปรากฎว่าผลการคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ของคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้คะแนนมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ 1. แนวคิดแบบบ้านยิ้มสวยสามมิติ ของฝ่ายโยธา ได้รับคะแนน 122 จากคะแนนเต็ม 130 2. แนวคิดจ่ายเงินค่าธรรมเนียมผ่านระบบออนไลน์ ของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้รับคะแนน 113 3. แนวคิด RBN Online Answer: ระบบตอบคำถามออนไลน์ของฝ่ายปกครอง ได้รับคะแนน 111
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ อยู่ระหว่างจัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบแก่คณะทำงาน และดำเนินการนำข้อมูลมาจัดทำเว็บไซต์
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ จัดทำเว็บไซต์ก่อสร้างสบาย สไตล์ราษฎร์บูรณะ เรียบร้อยแล้ว และได้ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์บนเว็บไซต์สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ FaceBook สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และ Face Book ของ ฝ่ายโยธา
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 319/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการเขตราษฎร์บูรณะ เป็นประธานกรรมการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตราษฎร์บุรณะ เป็นรองประธานกรรมการ หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายเป็นกรรมการ หัวหน้าฝ่ายปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ และนักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติากร/ชำนาญการ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ซึ่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ขั้นตอนที่ 1 การค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยฝ่ายปกครองเวียนแจ้งทุกฝ่ายให้ค้นหาปัญหา หรือความต้องการที่่จะพัฒนางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ส่งให้ฝ่ายปกครองตามหนังสือที่ กท 6301/1679 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563 2. ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกแนวคิดที่ไ้ด้จากขั้นตอนที่ 1 โดยฝ่ายปกครอง ได้กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 3.19/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 เพื่อคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ในวันพุธที่ 16 ธันวาคม 2563 เวลา 11.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ โดยฝ่ายปกครองรวบรวมแนวคิด ทั้งหมด 15 แนวคิดจากทุกฝ่ายเพื่อให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าวคัดเลือก ผลปรากฎว่าผลการคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ของคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้คะแนนมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ 1. แนวคิดแบบบ้านยิ้มสวยสามมิติ ของฝ่ายโยธา ได้รับคะแนน 122 จากคะแนนเต็ม 130 2. แนวคิดจ่ายเงินค่าธรรมเนียมผ่านระบบออนไลน์ ของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้รับคะแนน 113 3. แนวคิด RBN Online Answer: ระบบตอบคำถามออนไลน์ของฝ่ายปกครอง ได้รับคะแนน 111
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ อยู่ระหว่างจัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบแก่คณะทำงาน และดำเนินการนำข้อมูลมาจัดทำเว็บไซต์
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ จัดทำเว็บไซต์ก่อสร้างสบาย สไตล์ราษฎร์บูรณะ เรียบร้อยแล้ว และได้ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์บนเว็บไซต์สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ FaceBook สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และ Face Book ของ ฝ่ายโยธา
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 319/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการเขตราษฎร์บูรณะ เป็นประธานกรรมการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตราษฎร์บุรณะ เป็นรองประธานกรรมการ หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายเป็นกรรมการ หัวหน้าฝ่ายปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ และนักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติากร/ชำนาญการ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ซึ่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ขั้นตอนที่ 1 การค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยฝ่ายปกครองเวียนแจ้งทุกฝ่ายให้ค้นหาปัญหา หรือความต้องการที่่จะพัฒนางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ส่งให้ฝ่ายปกครองตามหนังสือที่ กท 6301/1679 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563 2. ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกแนวคิดที่ไ้ด้จากขั้นตอนที่ 1 โดยฝ่ายปกครอง ได้กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 3.19/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 เพื่อคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ในวันพุธที่ 16 ธันวาคม 2563 เวลา 11.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ โดยฝ่ายปกครองรวบรวมแนวคิด ทั้งหมด 15 แนวคิดจากทุกฝ่ายเพื่อให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าวคัดเลือก ผลปรากฎว่าผลการคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ของคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้คะแนนมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ 1. แนวคิดแบบบ้านยิ้มสวยสามมิติ ของฝ่ายโยธา ได้รับคะแนน 122 จากคะแนนเต็ม 130 2. แนวคิดจ่ายเงินค่าธรรมเนียมผ่านระบบออนไลน์ ของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้รับคะแนน 113 3. แนวคิด RBN Online Answer: ระบบตอบคำถามออนไลน์ของฝ่ายปกครอง ได้รับคะแนน 111
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ อยู่ระหว่างจัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบแก่คณะทำงาน และดำเนินการนำข้อมูลมาจัดทำเว็บไซต์
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ จัดทำเว็บไซต์ก่อสร้างสบาย สไตล์ราษฎร์บูรณะ เรียบร้อยแล้ว และได้ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์บนเว็บไซต์สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ FaceBook สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และ Face Book ของ ฝ่ายโยธา
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 319/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการเขตราษฎร์บูรณะ เป็นประธานกรรมการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตราษฎร์บุรณะ เป็นรองประธานกรรมการ หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่ายเป็นกรรมการ หัวหน้าฝ่ายปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ และนักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติากร/ชำนาญการ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ซึ่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ขั้นตอนที่ 1 การค้นหา และรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหา หรือความต้องการที่จะพัฒนางาน โดยฝ่ายปกครองเวียนแจ้งทุกฝ่ายให้ค้นหาปัญหา หรือความต้องการที่่จะพัฒนางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ส่งให้ฝ่ายปกครองตามหนังสือที่ กท 6301/1679 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563 2. ขั้นตอนที่ 2 การคัดเลือกแนวคิดที่ไ้ด้จากขั้นตอนที่ 1 โดยฝ่ายปกครอง ได้กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ตามคำสั่งสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะที่ 3.19/2563 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563 เพื่อคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ในวันพุธที่ 16 ธันวาคม 2563 เวลา 11.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 7 สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ โดยฝ่ายปกครองรวบรวมแนวคิด ทั้งหมด 15 แนวคิดจากทุกฝ่ายเพื่อให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าวคัดเลือก ผลปรากฎว่าผลการคัดเลือกแนวคิดที่สามารถนำมาพัฒนาเพื่อจัดทำโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ ของคณะกรรมการบริหารนวัตกรรมสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ได้คะแนนมากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ 1. แนวคิดแบบบ้านยิ้มสวยสามมิติ ของฝ่ายโยธา ได้รับคะแนน 122 จากคะแนนเต็ม 130 2. แนวคิดจ่ายเงินค่าธรรมเนียมผ่านระบบออนไลน์ ของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้รับคะแนน 113 3. แนวคิด RBN Online Answer: ระบบตอบคำถามออนไลน์ของฝ่ายปกครอง ได้รับคะแนน 111
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ อยู่ระหว่างจัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบแก่คณะทำงาน และดำเนินการนำข้อมูลมาจัดทำเว็บไซต์
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการพัฒนานวัตกรรมฯ จัดทำเว็บไซต์ก่อสร้างสบาย สไตล์ราษฎร์บูรณะ เรียบร้อยแล้ว และได้ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์บนเว็บไซต์สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ FaceBook สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ และ Face Book ของ ฝ่ายโยธา
๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :30.79 |
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนตุลาคม 2563 = 278.91 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 = 279.28 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 = 280.07 ตัน รวมทั้งสิ้น 838.26 ตัน คำนวณ 838.26 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.64 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.69 (25.64*30/100)
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนมกราคม 2564 = 278.66 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 = 279.71 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 = 279.31 ตัน รวมทั้งสิ้น 837.68 ตัน คำนวณ 837.68 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.62 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.69 (25.62*30/100)
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนเมษายน 2564 = 280.23 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 = 280.08 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 = 282.10 ตัน รวมทั้งสิ้น 842.41 ตัน คำนวณ 842.41 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.77 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.73 (25.77*30/100)
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนกรกฎาคม 2564 = 278.98 ตัน - เดือนสิงหาคม 2564 = 279.61 ตัน - เดือนกันยายน 2564 = 278.41 ตัน รวมทั้งสิ้น 837 ตัน คำนวณ 837 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.61 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.68 (25.77*30/100)
๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :30.79 |
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนตุลาคม 2563 = 278.91 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 = 279.28 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 = 280.07 ตัน รวมทั้งสิ้น 838.26 ตัน คำนวณ 838.26 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.64 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.69 (25.64*30/100)
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนมกราคม 2564 = 278.66 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 = 279.71 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 = 279.31 ตัน รวมทั้งสิ้น 837.68 ตัน คำนวณ 837.68 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.62 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.69 (25.62*30/100)
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนเมษายน 2564 = 280.23 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 = 280.08 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 = 282.10 ตัน รวมทั้งสิ้น 842.41 ตัน คำนวณ 842.41 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.77 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.73 (25.77*30/100)
ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ - เดือนกรกฎาคม 2564 = 278.98 ตัน - เดือนสิงหาคม 2564 = 279.61 ตัน - เดือนกันยายน 2564 = 278.41 ตัน รวมทั้งสิ้น 837 ตัน คำนวณ 837 X 100 หารด้วย 3,268.76 = 25.61 เป้าหมายร้อยละ 30 = 7.68 (25.77*30/100)
๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :129.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้า/ซ๋อมแซมในพื้นที่เสี่ยงภัย ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ติดตั้งได้ 0 ดวง ซ๋อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง 54 ดวงโคม จากเป้าหมาย 150 ดวงโคม
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้า/ซ๋อมแซมในพื้นที่เสี่ยงภัย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563- มีนาคม 2564 ติดตั้งได้ 0 ดวง ซ๋อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง 117 ดวงโคม จากเป้าหมาย 150 ดวงโคม
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้า/ซ๋อมแซมในพื้นที่เสี่ยงภัย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563- มิถุนายน 2564 ติดตั้งได้ 0 ดวง ซ๋อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง 169 ดวงโคม จากเป้าหมาย 150 ดวงโคม
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้า/ซ๋อมแซมในพื้นที่เสี่ยงภัย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563- กันยายน 2564 ติดตั้งได้ 10 ดวง ซ๋อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง 187 ดวงโคม จากเป้าหมาย 150 ดวงโคม
๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการตามโครงการ โดยจัดเจ้าหน้าที่ออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย 2ครั้ง/จุด/วัน และตรวจพื้นที่เป็นประจำทุกวันอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาคม 263
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการตามโครงการ โดยจัดเจ้าหน้าที่ออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย 2ครั้ง/จุด/วัน และตรวจพื้นที่เป็นประจำทุกวันอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 - เดือนมีนาคม 2564
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการตามโครงการ โดยจัดเจ้าหน้าที่ออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย 2ครั้ง/จุด/วัน และตรวจพื้นที่เป็นประจำทุกวันอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 - เดือนมิถุนายน 2564
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการตามโครงการ โดยจัดเจ้าหน้าที่ออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย 2ครั้ง/จุด/วัน และตรวจพื้นที่เป็นประจำทุกวันอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2564 - เดือนกันยายน 2564
๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :65.00 ผลงาน :0.00 |
1. ขออนุมัติโครงการ 2. ขออนุมัติเงินงวด 2 3. วางแผนการดำเนินงาน
1. จัดทำกำหนดการ 2. ตรวจสอบทะเบียนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยยาเสพติด เขตราษฎร์บูรณะ 3. ติดต่อประสานงานวิทยากร
เนื่องจากมีประกาศ คำสั่งกรุงเทพมหานคร และข้อกำหนดที่ออกตามพรก.ฉุกเฉิน ให้งดการจัดอบรม กิจกรรม ประชุม เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงชะลอการจัดกิจกรรมฯ
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ออกตรวจตามแผนฯตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ตรวจอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตฯ จำนวน 55 ราย ตรวจป้ายโฆษณา จำนวน 22 ป้าย ไม่มีผู้กระทำผิดกฎหมายอาคาร
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :90.37 |
ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 90 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 83 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 30 ได้ป้ายรับรอง จำนวน 26 ราย 4. ตลาด จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย รวม จำนวน 126 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 115 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.27
ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 92 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 90 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 30 ได้ป้ายรับรอง จำนวน 30 ราย 4. ตลาด จำนวน 3 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย รวม จำนวน 128 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 126 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.43
ดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100) ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 97 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 88 ราย 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 5 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 5 ราย 3. มินิมาร์ท จำนวน 29 ได้ป้ายรับรอง จำนวน 26 ราย 4. ตลาด จำนวน 4 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 3 ราย รวม จำนวน 135 ราย ได้ป้ายรับรอง จำนวน 122 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.37
๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า | |
![]() |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :100.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง จำนวน 3 คลอง ได้แก่ 1. คลองบางปะแก้ว 2. คลองดาวคะนอง 3. คลองราษฎร์บูรณะ ตั้งแต่เดือนธันวาคม - ตุลาคม 2563 ดำเนินการสำรวจคลอง จัดทำแผน สรุปปัญหา เสนอผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ คิดเป็นร้อยละ 20
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง จำนวน 3 คลอง ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 - มีนาคม 2564 ได้แก่ 1. คลองบางปะแก้ว ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ทิ้งขยะลงคลอง 2. คลองดาวคะนอง ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ทิ้งขยะลงคลอง 3. คลองราษฎร์บูรณะ ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ จุดเช็คอิน ศาลาริมคลองวัดประเสริฐฯ เทศกิจติดตั้ง ตู้เขียว ตรวจความปลอดภัย คิดเป็นร้อยละ 50
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง จำนวน 3 คลอง ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ได้แก่ 1. คลองบางปะแก้ว ได้มีการสำรวจเพื่อจะปรับปรุงศาลาริมน้ำวัดเกียรติประดิษฐ์ 2. คลองดาวคะนอง ได้มีการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณสะพานข้ามคลองดาวคะนอง 3. คลองราษฎร์บูรณะ ได้มีการเพิ่มจุดถ่ายรูป พักผ่อนเพิ่มเติมบริเวณท่าน้ำวัดสารอด คิดเป็นร้อยละ 70
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง จำนวน 3 คลอง ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 - กันยายน 2564 ได้แก่ 1. คลองบางปะแก้ว 2. คลองดาวคะนอง 3. คลองราษฎร์บูรณะ ได้ดำเนินการตามตัวชี้วัดและดำเนินการรวมรวมเอกสารส่งสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเรียบร้อยแล้ว คิดเป็นร้อยละ 100
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 |
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการ ดังนี้ 1. โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ จัดทำรายละเอียดโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อต้นไม้และวัสดุปลูก 2. กิจกรรมสำรวจพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นตามศักยภาพของเขต ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ จัดทำรายละเอียดรวบรวมข้อมูลส่งสำนักสิ่งแวดล้อมเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ในระหว่างการรายงานข้อมูลพื้นที่สีเขียวลงในโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการ ดังนี้ 1. โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ จัดทำรายละเอียดโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อต้นไม้และวัสดุปลูก 2. กิจกรรมสำรวจพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นตามศักยภาพของเขต ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ จัดทำรายละเอียดรวบรวมข้อมูลส่งสำนักสิ่งแวดล้อมเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ในระหว่างการรายงานข้อมูลพื้นที่สีเขียวลงในโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1 สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านพลีโน่ ซอยสุขสวัสดิ์ 30 = 1 ไร่ 2.2 สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านเอเวอร์ซิตี้ 2 ซอยสุขสวัสดิ์ 30 = 20 ตารางวา 2.3 ร้านอาหารอบอวลรัก ซอยประชาอุทิศ 14 = 2 ไร่ 2.4 ร้อนก๋วยเตียวห้อยขา ซอยประชาอุทิศ 16 = 50 ตารางวา 2.5 สวนถนนซอยสุขสวัสดิ์ 18 = 15 ตารางวา 2.6 สวนหย่อมบริเวณการไฟฟ้านครหลวง = 1 ไร่ รวมทั้งสิ้น 4 ไร่ - งาน 85 ตารางวา ผลการดำเนินงาน ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว รวมทั้งสิ้น 4 ไร่ - งาน 85 ตารางวา คิดเป็นร้อยละ 100
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ ดำเนินการตามโครงการ ดังนี้ 1. โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 2. กิจกรรมสำรวจพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นตามศักยภาพของเขต ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ จัดทำรายละเอียดรวบรวมข้อมูลส่งสำนักสิ่งแวดล้อมเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้ได้รายงานข้อมูลพื้นที่สีเขียวลงในโปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ 2.1 สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านพลีโน่ ซอยสุขสวัสดิ์ 30 = 1 ไร่ 2.2 สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านเอเวอร์ซิตี้ 2 ซอยสุขสวัสดิ์ 30 = 20 ตารางวา 2.3 ร้านอาหารอบอวลรัก ซอยประชาอุทิศ 14 = 2 ไร่ 2.4 ร้อนก๋วยเตียวห้อยขา ซอยประชาอุทิศ 16 = 50 ตารางวา 2.5 สวนถนนซอยสุขสวัสดิ์ 18 = 15 ตารางวา 2.6 สวนหย่อมบริเวณการไฟฟ้านครหลวง = 1 ไร่ รวมทั้งสิ้น 4 ไร่ - งาน 85 ตารางวา ผลการดำเนินงาน ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว รวมทั้งสิ้น 4 ไร่ - งาน 85 ตารางวา คิดเป็นร้อยละ 100
๓.๑.๑ ผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถใช้ชีวิตได้สะดวก | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างเขียนแบบประมาณราคา
ลงนามสัญญาจ้าง 28 ธันวาคม 2563 เริ่มสัญญา 29 ธันวาคม 2563 กำหนดแล้วเสร็จ 90 วัน ผู้รับจ้างดำเนินการแล้วเสร็จและส่งมอบงานวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 คณะกรรมการตรวจรับได้ดำเนินการตรวจรับวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการเบิกจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว
ลงนามสัญญาจ้าง 28 ธันวาคม 2563 เริ่มสัญญา 29 ธันวาคม 2563 กำหนดแล้วเสร็จ 90 วัน ผู้รับจ้างดำเนินการแล้วเสร็จและส่งมอบงานวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 คณะกรรมการตรวจรับได้ดำเนินการตรวจรับวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการเบิกจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว
ดำเนินการตามสัญญาและส่งมอบงานเบิกจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :99.05 |
- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน จำนวน 35 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ จำนวน 30 คน 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร จำนวน 15 คน เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 2 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน จำนวน 35 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ จำนวน 30 คน 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร จำนวน 15 คน เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มเดิม ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05
เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องสั่งปิดสถานเป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ปิดศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 4 ศูนย์ จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ได้
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 3 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน จำนวน 35 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ จำนวน 30 คน 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร จำนวน 15 คน เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มเดิม ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มเดิม ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :99.05 |
- วางแผนการดำเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 1 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน จำนวน 35 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ จำนวน 30 คน 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร จำนวน 15 คน เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 2 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน จำนวน 35 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ จำนวน 30 คน 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร จำนวน 15 คน เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มเดิม ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05
เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องสั่งปิดสถานเป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 34) สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะได้ปิดศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 4 ศูนย์ จึงไม่สามารถดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ได้
- ดำเนินการตรวจประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีการสังเกตตามแนวทาง DSPM ครั้งที่ 3 จำนวน 4 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรัตนะจีนะ จำนวน 25 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนวัดสน จำนวน 35 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนรวมน้ำใจ จำนวน 30 คน 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนซอยสถาพร จำนวน 15 คน เมื่อวันที่ 9-13 พฤศจิกายน 2563 ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05 เมื่อวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มเดิม ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05 เมื่อวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2564 ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มเดิม ผลปรากฏว่ามีเด็ก จำนวน 105 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 99.05
๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 |
ตามประกาศกรุงเทพมหานคร ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 เรื่องนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 โดยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบวันที่ 13 มีนาคม 2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอบวันที่ 13-14 มีนาคม 2564
ตามหนังสือสำนักการศึกษา ที่ กท 0805/1135 ลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 เรื่อง แจ้งจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบและสนามสอบในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 (ครั้งที่ 2) ระดับชั้น ป.6 นักเรียนที่สมัครใจสอบ O-NET มีจำนวน 427 คน สอบวันที่ 13 มีนาคม 2564 ใช้สนามสอบที่โรงเรียนวัดบางปะกอก ระดับชั้นม.3 นักเรียนที่สมัครใจสอบ O-NET มีจำนวน 52 คน สอบวันที่ 13-14 มีนาคม 2564 ใช้สนามสอบที่โรงเรียนรัตนจีนะอุทิศ รอประกาศผลสอบ
ตามหนังสือสำนักการศึกษา ที่ กท 0805/2834 ลงวันที่ 30 เมษายน 2564 เรื่อง แจ้งผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขต ผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2563 ดังนี้ โรงเรียนรัตนจีนะอุทิศ จำนวนผู้เข้าสอบ 71 คน ภาษาไทย 54.08 คะแนน ภาษาอังกฤษ 45.36 คะแนน คณิตศาสตร์ 25.00 คะแนน วิทยาศาสตร์ 35.30 คะแนน โรงเรียนวัดแจงร้อน จำนวนผู้เข้าสอบ 22 คน ภาษาไทย 54.98 คะแนน ภาษาอังกฤษ 53.75 คะแนน คณิตศาสตร์ 27.73 คะแนน วิทยาศาสตร์ 34.49 คะแนน โรงเรียนวัดบางปะกอก จำนวนผู้เข้าสอบ 241 คน ภาษาไทย 59.87 คะแนน ภาษาอังกฤษ 51.37 คะแนน คณิตศาสตร์ 31.16 คะแนน วิทยาศาสตร์ 41.51 คะแนน โรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส จำนวนผู้เข้าสอบ 20 คน ภาษาไทย 60.71 คะแนน ภาษาอังกฤษ 45.38 คะแนน คณิตศาสตร์ 30.75 คะแนน วิทยาศาสตร์ 35.60 คะแนน โรงเรียนวัดสน จำนวนผู้เข้าสอบ 31 คน ภาษาไทย 65.95 คะแนน ภาษาอังกฤษ 41.69 คะแนน คณิตศาสตร์ 27.42 คะแนน วิทยาศาสตร์ 38.75 คะแนน โรงเรียนวัดสารอด จำนวนผู้เข้าสอบ 16 คน ภาษาไทย 61.08 คะแนน ภาษาอังกฤษ 37.66 คะแนน คณิตศาสตร์ 32.50 คะแนน วิทยาศาสตร์ 40.36 คะแนน ผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2563 ดังนี้ โรงเรียนรัตนจีนะอุทิศ จำนวนผู้เข้าสอบ 16 คน ภาษาไทย 58.13 คะแนน ภาษาอังกฤษ 34.22 คะแนน คณิตศาสตร์ 22.50 คะแนน วิทยาศาสตร์ 26.94 คะแนน โรงเรียนวัดบางปะกอก จำนวนผู้เข้าสอบ 36 คน ภาษาไทย 56.81 คะแนน ภาษาอังกฤษ 32.01 คะแนน คณิตศาสตร์ 29.00 คะแนน วิทยาศาสตร์ 28.27 คะแนน
๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 |
ตามประกาศกรุงเทพมหานคร ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 เรื่องนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 โดยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบวันที่ 13 มีนาคม 2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอบวันที่ 13-14 มีนาคม 2564
ตามหนังสือสำนักการศึกษา ที่ กท 0805/1135 ลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 เรื่อง แจ้งจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบและสนามสอบในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 (ครั้งที่ 2) ระดับชั้น ป.6 นักเรียนที่สมัครใจสอบ O-NET มีจำนวน 427 คน สอบวันที่ 13 มีนาคม 2564 ใช้สนามสอบที่โรงเรียนวัดบางปะกอก ระดับชั้นม.3 นักเรียนที่สมัครใจสอบ O-NET มีจำนวน 52 คน สอบวันที่ 13-14 มีนาคม 2564 ใช้สนามสอบที่โรงเรียนรัตนจีนะอุทิศ รอประกาศผลสอบ
ตามหนังสือสำนักการศึกษา ที่ กท 0805/2834 ลงวันที่ 30 เมษายน 2564 เรื่อง แจ้งผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขต ผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2563 ดังนี้ โรงเรียนรัตนจีนะอุทิศ จำนวนผู้เข้าสอบ 71 คน ภาษาไทย 54.08 คะแนน ภาษาอังกฤษ 45.36 คะแนน คณิตศาสตร์ 25.00 คะแนน วิทยาศาสตร์ 35.30 คะแนน โรงเรียนวัดแจงร้อน จำนวนผู้เข้าสอบ 22 คน ภาษาไทย 54.98 คะแนน ภาษาอังกฤษ 53.75 คะแนน คณิตศาสตร์ 27.73 คะแนน วิทยาศาสตร์ 34.49 คะแนน โรงเรียนวัดบางปะกอก จำนวนผู้เข้าสอบ 241 คน ภาษาไทย 59.87 คะแนน ภาษาอังกฤษ 51.37 คะแนน คณิตศาสตร์ 31.16 คะแนน วิทยาศาสตร์ 41.51 คะแนน โรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส จำนวนผู้เข้าสอบ 20 คน ภาษาไทย 60.71 คะแนน ภาษาอังกฤษ 45.38 คะแนน คณิตศาสตร์ 30.75 คะแนน วิทยาศาสตร์ 35.60 คะแนน โรงเรียนวัดสน จำนวนผู้เข้าสอบ 31 คน ภาษาไทย 65.95 คะแนน ภาษาอังกฤษ 41.69 คะแนน คณิตศาสตร์ 27.42 คะแนน วิทยาศาสตร์ 38.75 คะแนน โรงเรียนวัดสารอด จำนวนผู้เข้าสอบ 16 คน ภาษาไทย 61.08 คะแนน ภาษาอังกฤษ 37.66 คะแนน คณิตศาสตร์ 32.50 คะแนน วิทยาศาสตร์ 40.36 คะแนน ผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2563 ดังนี้ โรงเรียนรัตนจีนะอุทิศ จำนวนผู้เข้าสอบ 16 คน ภาษาไทย 58.13 คะแนน ภาษาอังกฤษ 34.22 คะแนน คณิตศาสตร์ 22.50 คะแนน วิทยาศาสตร์ 26.94 คะแนน โรงเรียนวัดบางปะกอก จำนวนผู้เข้าสอบ 36 คน ภาษาไทย 56.81 คะแนน ภาษาอังกฤษ 32.01 คะแนน คณิตศาสตร์ 29.00 คะแนน วิทยาศาสตร์ 28.27 คะแนน
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :25.00 ผลงาน :50.29 |
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหนี้ค้างชำระภาษีป้ายทั้งหมด ณ 30 กันยายน 2563 และ ของหนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและ สิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ณ 2 พฤศจิกายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น **สรุปยอดภาษีค้างชำระ ประจำปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เท่ากับ 296,603.62 บาท 1.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ค้างชำระ ณ 2 พฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 289,963.62 บาท 2.ภาษีป้าย ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 6,640.- บาท **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ประจำเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 48,312.32 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.28 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 48,312.32 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.66 2. ภาษีป้าย เท่ากับ 0.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.00 **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 2 ประเภท ตั้งแต่ตุลาคม - ธันวาคม 2563 เท่ากับ 121,201.78 บาท คิดเป็นร้อยละ 40.86 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหนี้ค้างชำระภาษีป้ายทั้งหมด ณ 30 กันยายน 2563 และ ของหนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและ สิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ณ 2 พฤศจิกายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น **สรุปยอดภาษีค้างชำระ ประจำปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เท่ากับ 296,603.62 บาท 1.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ค้างชำระ ณ 2 พฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 289,963.62 บาท 2.ภาษีป้าย ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 6,640.- บาท **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ประจำเดือนมีนาคม 2564 เท่ากับ 1,898.85 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.64 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 1,898.85 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.65 2. ภาษีป้าย เท่ากับ 0.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.00 **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 2 ประเภท ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 เท่ากับ 133,919.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 45.15 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหนี้ค้างชำระภาษีป้ายทั้งหมด ณ 30 กันยายน 2563 และ ของหนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและ สิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ณ 2 พฤศจิกายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น **สรุปยอดภาษีค้างชำระ ประจำปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เท่ากับ 296,603.62 บาท 1.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ค้างชำระ ณ 2 พฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 289,963.62 บาท 2.ภาษีป้าย ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 6,640.- บาท **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 138,351.65 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.71 2. ภาษีป้าย เท่ากับ 3,900.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 58.73 **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 2 ประเภท ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 เท่ากับ 142,251.65 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.96 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และภาษีป้าย ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหนี้ค้างชำระภาษีป้ายทั้งหมด ณ 30 กันยายน 2563 และ ของหนี้ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ณ 2 พฤศจิกายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น **สรุปยอดภาษีค้างชำระ ประจำปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เท่ากับ 296,603.62 บาท 1.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ค้างชำระ ณ 2 พฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 289,963.62 บาท 2.ภาษีป้าย ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 6,640.- บาท **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 142,531.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 49.15 2. ภาษีป้าย เท่ากับ 6,640.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100.00 **สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 2 ประเภท ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 เท่ากับ 149,171.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 50.29 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 และ 2 พฤศจิกายน 2563
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :50.84 |
ดำเนินการ ดังนี้ 1.จัดทำทะเบียนภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย และภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 2.สำรวจตรวจสอบสภาพพื้นที่ปัจจุบันที่รับผิดชอบ 3.นำข้อมูลที่ทำการสำรวจตรวจสอบปรับปรุงระบบฐานข้อมูลผู้เสียภาษี ยอดประมาณการประจำปีงบประมาณ 2564 เท่ากับ (อยู่ระหว่างรอยอดประมาณการจากกองรายได้).- บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ (อยู่ระหว่างรอยอดประมาณการจากกองรายได้).- บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ (อยู่ระหว่างรอยอดประมาณการจากกองรายได้).- บาท 3. ภาษีป้าย เท่ากับ (อยู่ระหว่างรอยอดประมาณการจากกองรายได้).- บาท 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ (อยู่ระหว่างรอยอดประมาณการจากกองรายได้).- บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ประจำเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 526,415.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.- ของยอดประมาณการ จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 420,868.75 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.- ของยอดประมาณการ 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 3,622.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.- ของยอดประมาณการ 3. ภาษีป้าย เท่ากับ 33,320.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.- ของยอดประมาณการ 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 68,603.49 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.- ของยอดประมาณการ สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 เท่ากับ 13,694,486.35 บาท คิดเป็นร้อยละ...................ของยอดประมาณการ
ดำเนินการ ดังนี้ 1.จัดทำทะเบียนภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย และภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 2.สำรวจตรวจสอบสภาพพื้นที่ปัจจุบันที่รับผิดชอบ 3.นำข้อมูลที่ทำการสำรวจตรวจสอบปรับปรุงระบบฐานข้อมูลผู้เสียภาษี ยอดประมาณการประจำปีงบประมาณ 2564 เท่ากับ 63,100,000.- บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 7,000,000.- บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 100,000.- บาท 3. ภาษีป้าย เท่ากับ 11,000,000.- บาท 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 45,000,000.- บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ประจำเดือนมีนาคม 2564 เท่ากับ 2,340,315.88 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.71 ของยอดประมาณการ จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 172,617.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของยอดประมาณการ 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 14,286.05 บาท คิดเป็นร้อยละ 14.29 ของยอดประมาณการ 3. ภาษีป้าย เท่ากับ 2,150,588.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.55 ของยอดประมาณการ 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 2,824.17 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของยอดประมาณการ สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 เท่ากับ 8,099,877.95 บาท คิดเป็นร้อยละ 12.84 ของยอดประมาณการ
ดำเนินการ ดังนี้ 1.จัดทำทะเบียนภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย และภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 2.สำรวจตรวจสอบสภาพพื้นที่ปัจจุบันที่รับผิดชอบ 3.นำข้อมูลที่ทำการสำรวจตรวจสอบปรับปรุงระบบฐานข้อมูลผู้เสียภาษี ยอดประมาณการประจำปีงบประมาณ 2564 เท่ากับ 63,100,000.- บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 7,000,000.- บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 100,000.- บาท 3. ภาษีป้าย เท่ากับ 11,000,000.- บาท 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 45,000,000.- บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 6,093,012.04 บาท คิดเป็นร้อยละ 87.04 ของยอดประมาณการ 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 121,787.38 บาท คิดเป็นร้อยละ 121.79 ของยอดประมาณการ 3. ภาษีป้าย เท่ากับ 10,583,084.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 96.21 ของยอดประมาณการ 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 8,811,715.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.58 ของยอดประมาณการ สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 เท่ากับ 25,609,599.59 บาท คิดเป็นร้อยละ 40.59 ของยอดประมาณการ
ดำเนินการ ดังนี้ 1.จัดทำทะเบียนภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย และภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ให้ถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 2.สำรวจตรวจสอบสภาพพื้นที่ปัจจุบันที่รับผิดชอบ 3.นำข้อมูลที่ทำการสำรวจตรวจสอบปรับปรุงระบบฐานข้อมูล ผู้เสียภาษี ยอดประมาณการประจำปีงบประมาณ 2564 เท่ากับ 63,100,000.- บาท 1.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 7,000,000.- บาท 2.ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 100,000.- บาท 3.ภาษีป้าย เท่ากับ 11,000,000.- บาท 4.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 45,000,000.- บาท **สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 7,001,823.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 100.03 ของยอดประมาณการ 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 143,192.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 143.19 ของยอดประมาณการ 3. ภาษีป้าย เท่ากับ 11,659,519.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 106.00 ของยอดประมาณการ 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เท่ากับ 13,278,647.05 บาท คิดเป็นร้อยละ 29.51 ของยอดประมาณการ **สรุปยอดจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 เท่ากับ 32,083,182.65 บาท คิดเป็นร้อยละ 50.84 ของยอดประมาณการ
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :10.99 |
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหนี้ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น สรุปยอดรวมภาษีโรงเรือนและที่ดิน, ภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 1,575,527.55 บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 52 ราย จำนวน 1,561,307.95 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 62 ราย จำนวน 14,219.60 บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ประจำเดือนธันวาคม 2563 เท่ากับ 46,062.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.92 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 46,062.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.95 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 0.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.00 สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2563 เท่ากับ 59,248.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.76 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหนี้ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น สรุปยอดรวมภาษีโรงเรือนและที่ดิน, ภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 1,340,764.50 บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 50 ราย จำนวน 1,313,367.60 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 84 ราย จำนวน 27,396.90 บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ประจำเดือนมีนาคม 2564 เท่ากับ 34,545.43 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.58 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 34,272.73 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.61 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 272.70 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.00 สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 เท่ากับ 98,740.33 บาท คิดเป็นร้อยละ 7.36 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหนี้ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น สรุปยอดรวมภาษีโรงเรือนและที่ดิน, ภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 1,340,764.50 บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 50 ราย จำนวน 1,313,367.60 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 84 ราย จำนวน 27,396.90 บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 86,607.96 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.59 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 21,398.40 บาท คิดเป็นร้อยละ 78.11 สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 เท่ากับ 108,006.36 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.06 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563
**ฝ่ายรายได้ดำเนินการตามโครงการเร่งรัดติดตามลูกหนี้ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุงท้องที่ ประจำปีงบประมาณ 2564 (เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) เป้าหมายเพื่อให้หนี้ค้างชำระภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบำรุง ท้องที่ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหนี้ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายละเอียดข้อมูลผู้ค้างชำระภาษี 2. เร่งรัดติดตามผู้ค้างชำระภาษีโดยจัดส่งหนังสือแจ้งเตือนทางไปรษณีย์ 3. ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อให้ผู้ค้างชำระภาษีมาดำเนินการชำระให้เสร็จสิ้น สรุปยอดรวมภาษีโรงเรือนและที่ดิน, ภาษีบำรุงท้องที่ค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 เท่ากับ 1,340,764.50 บาท 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 50 ราย จำนวน 1,313,367.60 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 84 ราย จำนวน 27,396.90 บาท สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563 จำแนกเป็น 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เท่ากับ 125,653.42 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.57 2. ภาษีบำรุงท้องที่ เท่ากับ 21,649.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 79.02 สรุปยอดจัดเก็บภาษีค้างชำระ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 เท่ากับ 147,303.22 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.99 ของยอดค้างชำระ ณ 30 กันยายน 2563