ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50250000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) (ยุทธศาสตร์) ร้อยละความสำเร็จในการสนับสนุนการพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
(ยุทธศาสตร์) ร้อยละความสำเร็จในการสนับสนุนการพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
80.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงานในการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจและประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตดอนเมือง และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร - รวบรวมข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งน้ำเสียในพื้นที่เขตทั้งหมดเพื่อจัดส่งให้สำนักการระบายน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการสำรวจและประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตดอนเมือง และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการรวบรวมข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งน้ำเสียในพื้นที่เขตทั้งหมดเพื่อจัดส่งให้สำนักการระบายน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการรวบรวมแบบสำรวจและรายงานผลการประชาสัมพันธ์ข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการในพื้นที่เขตดอนเมือง และดำเนินการรวบรวมข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งน้ำเสียในพื้นที่เขตทั้งหมดพร้อมทั้งจัดส่งให้สำนักการระบายน้ำเสร็จเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) (องค์ประกอบที่ 2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
(องค์ประกอบที่ 2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :34.99


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.54

100 / 100
2
17.57

100 / 100
3
26.31

100 / 100
4
34.99

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 2,027.31 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 2,068.66 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 2,109.02 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 จำนวน 6,204.99 ตัน คิดเป็นร้อยละ 28.467 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 8.54 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนมกราคม 2564 จำนวน 2,165.34 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2,217.76 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 2,180.15 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 - 2 จำนวน 12,768.24 ตัน คิดเป็นร้อยละ 58.58 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 17.57 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนเมษายน 2564 จำนวน 2,135.32 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 2,110.34 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 2,104.11 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 - 3 จำนวน 19,118.01 ตัน คิดเป็นร้อยละ 87.71 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 26.31 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนกรกฎาคม 2564 จำนวน 2,114.12 ตัน - เดือนสิงหาคม 2564 จำนวน 2,082.10 ตัน - เดือนกันยายน 2564 จำนวน 2,105.20 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 - 4 จำนวน 25,419.43 ตัน คิดเป็นร้อยละ 116.62 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 34.99 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(3) (องค์ประกอบที่ 2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
(องค์ประกอบที่ 2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :34.99

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.54

100 / 100
2
17.57

100 / 100
3
26.31

100 / 100
4
34.99

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 2,027.31 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 2,068.66 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 2,109.02 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 จำนวน 6,204.99 ตัน คิดเป็นร้อยละ 28.467 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 8.54 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนมกราคม 2564 จำนวน 2,165.34 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2,217.76 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 2,180.15 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 - 2 จำนวน 12,768.24 ตัน คิดเป็นร้อยละ 58.58 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 17.57 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนเมษายน 2564 จำนวน 2,135.32 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 2,110.34 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 2,104.11 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 - 3 จำนวน 19,118.01 ตัน คิดเป็นร้อยละ 87.71 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 26.31 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกได้ ดังนี้ - เดือนกรกฎาคม 2564 จำนวน 2,114.12 ตัน - เดือนสิงหาคม 2564 จำนวน 2,082.10 ตัน - เดือนกันยายน 2564 จำนวน 2,105.20 ตัน รวมไตรมาสที่ 1 - 4 จำนวน 25,419.43 ตัน คิดเป็นร้อยละ 116.62 (จากร้อยละ 100) และคิดเป็นร้อยละ 34.99 (เมื่อเทียบกับเป้าหมายร้อยละ 30)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(4) (ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
(ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด

หน่วยนับ :ครั้ง/ปี

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564 - จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในวันที่ 25 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563 - จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 - จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564 - จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 - จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(5) (ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
(ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด

หน่วยนับ :ครั้ง/ปี

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564 - จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในวันที่ 25 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563 - จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 - จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564 - จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 - จัดประชุม ศป.ปส.เขตดอนเมือง ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(6) (องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (1) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
(องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (1) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
4.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ๒. ขออนุมัติปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๓. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหาร ๔. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ โพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) ๕.ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- เป้าหมายสถานประกอบการทั้งหมด 307 แห่ง - ได้ป้ายรับรองมาตรฐาน 209 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 68.08

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เป้าหมายสถานประกอบการทั้งหมด 318 แห่ง - ได้ป้ายรับรองมาตรฐาน 224 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70.44

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เป้าหมายสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 323 แห่ง - ปิดตามประกาศกรุงเทพมหานคร 80 แห่ง - คงเหลือ 243 แห่ง ดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 243 แห่ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) (องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (2) ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
(องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (2) ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี  มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :69.14


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
25.89

100 / 100
3
25.89

100 / 100
4
69.14

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ๒. อยู่ระหว่างขออนุมัติปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๓. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหาร ๔. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ โพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) ๕.ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เป้าหมายสถานประกอบการทั้งหมด 309 แห่ง ดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ดังนี้ - ระดับดีมาก (4 ดาว) 72 แห่ง - ระดับดีเลิศ (5 ดาว) 8 แห่ง รวม 80 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.89 (ระดับ 5)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เป้าหมายสถานประกอบการทั้งหมด 309 แห่ง ดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ดังนี้ - ระดับดีมาก (4 ดาว) 72 แห่ง - ระดับดีเลิศ (5 ดาว) 8 แห่ง รวม 80 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.89 (ระดับ 5)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สถานประกอบการอาหารทั้งหมด 323 แห่ง (ณ เดือนกันยายน 2564) - ปิดตามประกาศกรุงเทพมหานคร 80 แห่ง - คงเหลือ 243 แห่ง เป้าหมาย 49 แห่ง (ร้อยละ 20) ดำเนินการได้ 168 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 69.14)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(8) (องค์ประกอบที่ 2) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
(องค์ประกอบที่ 2) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
4.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดทำเอกสารประกอบการดำเนินการ ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาและอนุรักษ์คลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าวในพื้นที่เขตดอนเมือง 2. แบบสรุปผลการสำรวจพื้นที่คลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว 3. แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองตามตัวชี้วัดเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (คลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว) 4. แผนปฏิบัติการการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตดอนเมือง (คลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว) - ดำเนินการตามแผนที่กำหนด ดังนี้ 1. รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองทุกวันพุธ 2. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 3. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น 4. สำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำเป็นจุดเชคอิน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่คลองลาดพร้าวและคลองเปรมประชา พร้อมจัดทำโครงการพัฒนาและอนุรักษ์คลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าวในพื้นที่เขตดอนเมือง 2. บริหารจัดการขยะริมคลอง โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่ชุมชนริมคลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว จัดกิจกรรมรณรงค์ฯ ดังนี้ - คลองเปรมประชากร 11 ครั้ง - คลองลาดพร้าว 8 ครั้ง 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน ในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองเปรมประชากรและคลองลาดพร้าว จัดกิจกรรมส่งเสริมฯ ดังนี้ - คลองเปรมประชากร 9 ครั้ง - คลองลาดพร้าว 5 ครั้ง 4. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้า ส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 1 ครั้ง/เดือน - ขณะนี้ยังไม่มีการแจ้งซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่ 5. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น 1 ครั้ง/เดือน จำนวนสะพานในพื้นที่ ดังนี้ - คลองเปรมประชากร 25 แห่ง (ซ่อมแซมแล้ว 1 สะพาน คือ สะพานชุมชนร่มไทรงาม) - คลองลาดพร้าว 4 แห่ง 6. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check in อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง กำหนดจุดเช็คอิน และเตรียมพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ - คลองเปรมประชากร บริเวณพื้นที่ว่างริมคลองเปรมประชากรด้านหลังหมู่บ้านแกรนด์คาแนล ดำเนินการปรับพื้นที่ และปลูกต้นไม้บางส่วน - คลองลาดพร้าว บริเวณเชิงสะพานสอน - สวัสดิ์ ดำเนินการจัดเก็บวัสดุ และปรับปรุงพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชุมชนริมคลองเปรมประชากร จำนวน 3 ครั้ง และคลองลาดพร้าว จำนวน 2 ครั้ง - จัดกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชนในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองเปรมประชากร จำนวน 2 ครั้ง และคลองลาดพร้าว จำนวน 2 ครั้ง - ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อพัฒนาพื้นที่ริมคลองเปรมประชากรและริมคลองลาดพร้าวให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุด Checkin บริเวณที่ว่างริมคลองเปรมประชากรด้านหลังหมู่บ้านแกนคาแนล และดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณปลูกต้นไม้ บริเวณที่ว่างริมคลองลาดพร้าวบริเวณเชิงสะพานสอน-สวัสดิ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่คลองลาดพร้าวและคลองเปรมประชากร 2. บริหารจัดการขยะริมคลอง โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่ชุมชนริมคลอง - คลองเปรมประชากร 27 ครั้ง (เป้าหมาย 12 ครั้ง/ปี) - คลองลาดพร้าว 20 ครั้ง (เป้าหมาย 12 ครั้ง/ปี) 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง ดังนี้ - คลองเปรมประชากร 19 ครั้ง (เป้าหมาย 12 ครั้ง/ปี) - คลองลาดพร้าว 17 ครั้ง (เป้าหมาย 12 ครั้ง/ปี) 4. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 1 ครั้ง/เดือน พบว่าไฟฟ้าส่องสว่างมีสภาพพร้อมใช้งาน ไม่ต้องซ่อมแซม 5. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น 1 ครั้ง/เดือน - คลองเปรมประชากร 25 แห่ง ซ่อมแซม 12 แห่ง (13 แห่งอยู่ในสภาพดี) - คลองลาดพร้าว 4 แห่ง ซ่อมแซม 4 แห่ง 6. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check in อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง - คลองเปรมประชากร 1 จุด บริเวณพื้นที่ว่างริมคลองเปรมประชากรด้านหลังหมู่บ้านแกรนด์คาแนล - คลองลาดพร้าว 1 จุด บริเวณเชิงสะพานสอน - สวัสดิ์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(9) (องค์ประกอบที่ 3) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
(องค์ประกอบที่ 3) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :107.04

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
75.56

100 / 100
3
105.93

100 / 100
4
107.04

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการประกาศเชิญชวนจัดซื้อไม้ืนต้น ไม่ดอก ไม้ประดับ และวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกและดูแลบำรุงรักษาต้นไม้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว งบประมาณ 900,000 บาท ดำเนินงานได้ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน - เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยไม่ใช้งบประมาณของ กทม. 4 แห่ง สำนักงานเขตดอนเมือง ดำเนินการ 2 แห่ง (1) ทางเท้าถนนสรงประภาขาเข้า (10 ไร่ 3 งาน 75 ตร.ว.) (2) ทางเท้าถนนสรงประภาขาออก (6 ไร่ 2 งาน 25 ตร.ว.) หน่วยงานอื่นสนับสนุนงบประมาณ (พื้นที่ของ กทม.) 1 แห่ง (3) เกาะกลางถนนพหลโยธิน (3 ไร่ 3 งาน) เอกชนดำเนินการในพื้นที่ของเอกชน 1 แห่ง (4) สวนหมู่บ้าน Pleno ซ.สรงประภา 30 (2 ไร่) เป้าหมาย ร้อยละ 100 (33 ไร่ 3 งาน) ดำเนินการได้ ร้อยละ 75.56 (25 ไร่ 2 งาน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว งบประมาณ 900,000 บาท ดำเนินงานได้ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน (พื้นที่ว่างข้างคูนายกิมสาย 2) - เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยไม่ใช้งบประมาณของ กทม. 7 แห่ง (1) ทางเท้าถนนสรงประภาขาเข้า (10 ไร่ 3 งาน 75 ตร.ว.) (2) ทางเท้าถนนสรงประภาขาออก (6 ไร่ 2 งาน 25 ตร.ว.) (3) สวนหย่อมหน้าสำนักงานเขตดอนเมือง (1 งาน) (4) เกาะกลางถนนพหลโยธิน (3 ไร่ 3 งาน) (5) สวนหมู่บ้าน Pleno ซ.สรงประภา 30 (2 ไร่) (6) สวนสุขภาพโรงพยาบาลทหารอากาศ (สีกัน) (5 ไร่) (7) สวนหย่อมภายในวัดเทพนิมิตต์ ถนนประชาอุทิศ (5 ไร่) เป้าหมาย ร้อยละ 100 (33 ไร่ 3 งาน) ดำเนินการได้ ร้อยละ 105.93 (35 ไร่ 3 งาน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. พื้นที่ว่างข้างคูนายกิมสาย 2 (900 ตร.ว.) 2. สวนถนน ทางเท้า ถ.สรงประภาขาเข้า (4,375 ตร.ว.) 3. สวนถนน ทางเท้า ถ.สรงประภาขาออก (2,625 ตร.ว.) 4. เกาะกลาง ถ.พหลโยธิน (1,500 ตร.ว.) 5. สวนสุขภาพ รพ.ทหารอากาศ (สีกัน) (2,000 ตร.ว.) 6. สวนหย่อมวัดเทพนิมิตต์ (2,000 ตร.ว.) 7. สวนหมู่บ้าน Pleno ดอนเมือง - สรงประภา (800 ตร.ว.) 8. สวนหย่อมหน้า สนข.ดอนเมือง (100 ตร.ว.) 9. สวนหย่อมหลัง ธ.ไทยพาณิชย์ สาขาตลาดใหม่ (150 ตร.ว.) เป้าหมาย ร้อยละ 100 (33 ไร่ 3 งาน หรือ 13,500 ตร.ว.) ดำเนินการได้ ร้อยละ 107.04 (36 ไร่ 50 ตร.ว. หรือ 14,450 ตร.ว.)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(10) (ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมสนับสนุนภูมิปัญญาผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
(ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมสนับสนุนภูมิปัญญาผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :ครั้ง/ปี

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ประชาสัมพันธ์รับสมัครภูมิปัญญาผู้สูงอายุและประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดงานโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 25 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมกำแพงเพชร ชั้น 2 สำนักงานเขตดอนเมือง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ในเดือนเมษายน 2564 เตรียมสรุปผลการดำเนินงานตาม โครงการเพื่อเสนอผู้บริหาร......ความคืบหน้า 90% , ในเดือนพฤษภาคม 2564 ได้สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเสนอผู้บริหารเรียบร้อยแล้ว.....ความคืบหน้า 95%, ในเดือนมิถุนายน 2564 ได้ดำเนินการตามโครงการเรียบร้อยแล้ว.......100%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ในเดือนเมษายน 2564 เตรียมสรุปผลการดำเนินงานตาม โครงการเพื่อเสนอผู้บริหาร......ความคืบหน้า 90% , ในเดือนพฤษภาคม 2564 ได้สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเสนอผู้บริหารเรียบร้อยแล้ว.....ความคืบหน้า 95%, ในเดือนมิถุนายน 2564 ได้ดำเนินการตามโครงการเรียบร้อยแล้ว.......100%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(11) (ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมสนับสนุนภูมิปัญญาผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
(ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมสนับสนุนภูมิปัญญาผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :ครั้ง/ปี

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ประชาสัมพันธ์รับสมัครภูมิปัญญาผู้สูงอายุและประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดงานโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 25 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมกำแพงเพชร ชั้น 2 สำนักงานเขตดอนเมือง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ในเดือนเมษายน 2564 เตรียมสรุปผลการดำเนินงานตาม โครงการเพื่อเสนอผู้บริหาร......ความคืบหน้า 90% , ในเดือนพฤษภาคม 2564 ได้สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเสนอผู้บริหารเรียบร้อยแล้ว.....ความคืบหน้า 95%, ในเดือนมิถุนายน 2564 ได้ดำเนินการตามโครงการเรียบร้อยแล้ว.......100%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ค่าใช้จ่ายศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ในเดือนเมษายน 2564 เตรียมสรุปผลการดำเนินงานตาม โครงการเพื่อเสนอผู้บริหาร......ความคืบหน้า 90% , ในเดือนพฤษภาคม 2564 ได้สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเสนอผู้บริหารเรียบร้อยแล้ว.....ความคืบหน้า 95%, ในเดือนมิถุนายน 2564 ได้ดำเนินการตามโครงการเรียบร้อยแล้ว.......100%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(12) (ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมเกษตรกร/ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตร
[มิติที่ 1 : ]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
(ยุทธศาสตร์) ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมเกษตรกร/ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตร

หน่วยนับ :ครั้ง/ปี

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
5.00

100 / 100
3
5.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม 2563 - จัดการประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ครั้งที่ 1 ในวันที่ 30 ตุลาคม 2563 ณ ที่ทำการชุมชนปิ่นเจริญ 1 - ความพึงพอใจของผู้รับบริการในเดือนตุลาคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 91.67 เดือนพฤศจิกายน 2563 - ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อให้ความรู้ด้านเกษตรกับคนในชุมชน จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ (1) วันที่ 2 พฤศจิกายน 2563 ชุมชนร่วมใจพัฒนา กรป.กลาง (2) วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 ชุมชนดอนเมืองวิลล่า - ความพึงพอใจของผู้รับบริการเดือนพฤศจิกายน 2563 คิดเป็นร้อยละ 88.33 เดือนธันวาคม 2563 - ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อให้ความรู้ด้านเกษตรเพื่อแนะนำการทำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกองพร้อมทั้งมอบเมล็ดพันธุ์ผักให้แก่คนในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้ (1) วันที่ 16 ธันวาคม 2563 ชุมชนบูรพา 7 (2) วันที่ 17 ธันวาคม 2563 ชุมชนดอนเมืองวิลล่า, (3) วันที่ 18 ธันวาคม 2563 ชุมชนวังทอง, ชุมชนบูรพา 7 และชุมชนบูรพา 16 - ความพึงพอใจของผู้รับบริการเดือนธันวาคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 91.00 - รวบรวมเอกสารเพื่อจัดซื้อวัสดุการเกษตรเพื่อใช้ในโครงการ จำนวนเงิน 48,880 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือนมกราคม 2564 - ลงพื้นที่ชุมชนเพื่อให้ความรู้ด้านเกษตรและแนะนำการทำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง พร้อมทั้งมอบเมล็ดพันธุ์ผักให้กับชุมชน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 - จัดประชุมศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร - จัดซื้อวัสดุเพื่อดำเนินโครงการ เดือนมีนาคม 2564 - ลงพื้นที่ชุมชนบูรพา 7 เพื่อให้คำแนะนำในการปลูกผักการป้องกันการกำจัดศัตรูพืชและการจัดทำแปลงผักในการผลิตเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร…...ในเดือนเมษายน 2564 จัดประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ ณ ที่ทำการชุมชนปิ่นเจริญ 1 เรียบร้อยแล้ว ...ความคืบหน้า 56%, ในเดือนพฤษภาคม 2564 ได้ลงพื้นที่ชุมชนบูรพา 7 เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์พืช จำนวน 4 ชนิด ...ความคืบหน้า.....64% , ในเดือนมิถุนายน 2564 ได้ให้คำแนะนะในการทำความสะอาดเมล็ดพันธุ์พืชและการลดความชื้นและเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชและทดสอบความงอกของพืช 6 ชนิด.....ความคืบหน้า 89%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร…...ในเดือนกรกฏาคม-กันยายน 2564 ลงพื้นชุมชนบูรพา 7 โดยให้คำแนะนำการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืช 7 ชนิด ในเดือนกรกฏาคม 64 ความคืบหน้า...80% ในเดือนสิงหาคม 64 ความคืบหน้า...91% ในเดือนกันยายน 64 ความคืบหน้า...100%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๒ - เมืองแห่งนักท่องเที่ยวระดับโลก

(13) (องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวระดับโลก
(องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :จัดกิจกรรมอย่างน้อย (ครั้ง)

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :3.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จัดกิจกรรมอย่างน้อย (ครั้ง))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
3.00

100 / 100
4
3.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดงานวันพ่อแห่งชาติประจำปี 2563 ในวันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม 2563 ณ ห้องกำแพงเพชร สำนักงานเขตดอนเมืองเรียบร้อยแล้ว - กำหนดจัดกิจกรรมขายสินค้าราคาประหยัด ในวันพฤหัสบดีสุดท้ายของเดือน ตั้งแต่เวลา 08.00 น. - 15.00 น. ณ บริเวณลานด้านหน้าอาคารสำนักงานเขตดอนเมือง และดำเนินการแล้ว ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน สำหรับครั้งที่ 2 ในวันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม 2563 งดการจำหน่ายสินค้าราคาถูก ณ สำนักงานเขตดอนเมือง เนื่องจากมีการแพร่ระบาดโรคเชื้อไว้รัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2019 (Covid 19)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมงานวันพ่อแห่งชาติ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2563 ณ สำนักงานเขตดอนเมือง 2. จัดกิจกรรมจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่ดอนเมือง จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 3. จัดกิจกรรมงานตลาดย้อนยุคชุมชนทัดชาวิลล่า เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2563 ณ ชุมชนทัดชาวิลล่า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงงดจัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวกันของประชาชนในเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2564 และงดการจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ เพื่อความปลอดภัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.จำหน่ายสินค้าออนไลน์ ในเดือน เมษายน – มิถุนาย 2564 ได้ชะลอกิจกรรมออกไปก่อน 2.ค่าใช้จ่าในการบริหารจัดการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกทม. ในเดือนเมษายน – มิถุนายน 2564 เบิกจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัครประจำมีนาคม เมษายน พฤษภาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว และในเดือน เมษายน – มิถุนายน 2564 ได้งดจัดกิจกรรม เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จึงงดการจัดกิจกรรมกรรมออกไปก่อนจนกว่าสถานการณ์จะปกติ .....ความคืบหน้า 70% 3.ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ในเดือน เมษายน – มิถุนายน 2564 ได้งดจัดกิจกรรม เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จึงงดการจัดกิจกรรมกรรมออกไปก่อนจนกว่าสถานการณ์จะปกติ .....ความคืบหน้า 65% 4.โครงการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฯ ในเดือน เมษายน – มิถุนายน 2564 ได้งดจัดกิจกรรม เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จึงงดการจัดกิจกรรมกรรมออกไปก่อนจนกว่าสถานการณ์จะปกติ .....ความคืบหน้า 65%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.จำหน่ายสินค้าออนไลน์ ในเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2564 ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณ 2.ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกทม. ในเดือนกรกฏาคม-กันยายน 2564 เบิกจ่ายค่าตอบแทนอาสาสมัคร และในเดือนกรกฎาคม-กันยายน2564 ได้งดจัดกิจกรรมเนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จึงงดการจัดกิจกรรมตามโครงการไม่มีกำหนด ....ความคืบหน้า 100% 3.ค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ในเดือน กรกฏาคม-กันยายน 2564 ได้งดจัดกิจกรรม เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จึงงดการจัดกิจกรรมตามโครงการไม่มีกำหนด ....ความคืบหน้า 100% 4.โครงการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฯ ในเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2564 ได้งดจัดกิจกรรมเนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 จึงงดการจัดกิจกรรมตามโครงการไม่มีกำหนด ....ความคืบหน้า 100%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(14) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
80.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ความก้าวหน้าเฉลี่ยร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ความก้าวหน้าเฉลี่ยร้อยละ 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ความก้าวหน้าเฉลี่ยร้อยละ 80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ความก้าวหน้าเฉลี่ยร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด