ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50260000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
90.00

95 / 100
2
91.00

100 / 50
3
90.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำโครงการพร้อมขออนุม้ติ ประชุมเจ้าหน้าที่ พร้อมจัดกิจกรรม "เปลี่่ยนกันใช้ ผลัดกันชม" ประชาสัมพันธ์รณรงค์การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงรายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 106.06 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประชาสัมพันธ์รณรงค์การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงรายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 108 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประชาสัมพันธ์รณรงค์การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงรายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 106 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 118.10 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
90.00

95 / 100
2
91.00

100 / 50
3
90.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำโครงการพร้อมขออนุม้ติ ประชุมเจ้าหน้าที่ พร้อมจัดกิจกรรม "เปลี่่ยนกันใช้ ผลัดกันชม" ประชาสัมพันธ์รณรงค์การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงรายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 106.06 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประชาสัมพันธ์รณรงค์การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงรายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 108 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประชาสัมพันธ์รณรงค์การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ รวมถึงรายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 106 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานการจัดการมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ประเภทขยะรีไซเคิล และ ขยะอินทรีย์ ปริมาณเฉลี่ย 118.10 ตัน/วัน พร้อมเสนอผู้อำนวยการเขตทราบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(3) อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และภาคีเครือข่าย เข้าร่วมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักร
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และภาคีเครือข่าย เข้าร่วมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักร

หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่า

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่า)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

95 / 50
2
1.00

100 / 50
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตจตุจักรโดยฝ่ายปกครองได้จัดประชุมคณะกรรมการฯ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 9 สำนักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ไม่สามารถจัดการประชุมได้ต้องรอสถานการณ์ผ่อนคลายจึงจะเริ่มดำเนินการได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- กิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด งบ 53,160 บาท กำหนดจัดในวันที่ 19 มิถุนายน 2564 แต่ขอเห็นชอบจาก ผอ. เลื่อนการกิจกรรม ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 - กิจกรรมของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร งบ 37,040 บาท กำหนดจัดกิจกรรมของอาสาฯ ใน วันที่ 26 มิถุนายน 2564 ขอเห็นชอบจาก ผอ. เลื่อนการกิจกรรม ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 แต่ทั้งนี้สำนักงานเขตจตุจักร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมโดยไม่ใช้งบประมาณ และจำกัดจำนวนคน ไม่เกิน 20 คน ในการแสดงพลังต่อต้านยาเสพติด ณ ริมคลองบางซื่อ เขตจตุจักร - วันที่ 23 มิถุนายน 2564 ได้จัดประชุมศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ ไตรมาสที่ 3/2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ฝ่ายปกครอง ได้ขอเห็นชอบจากผู้อำนวยการเขตจตุจักรกำหนดการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และกิจกรรมของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและภาคีเครือข่ายเพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักร ในวันที่ 16 มกราคม 2564 และ วันที่ 23 มกราคม 2564 ตามหนังสือฝ่ายปกครองที่ กท 6501/1116 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2563 และเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ผู้อำนวยการเขตจตุจักรเห็นชอบการเลื่อนจัดกิจกรรมดังกล่าวออกไปจนกว่าสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะคลี่คลาย ตามหนังสือฝ่ายปกครองที่ กท 6501/1195 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2563 ซึ่งค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรมตามโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เป็นเงิน 90,200.-บาท (เก้าหมื่นสองร้อยบาทถ้วน) แบ่งเป็น - ค่าวัสดุ จำนวน 13,550.- บาท (หนึ่งหมื่นสามพันห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน) - ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 76,650.-บาท (เจ็ดหมื่นหกพันหกร้อย ห้าสิบบาทถ้วน) ในการนี้ฝ่ายปกครองได้จัดซื้อวัสดุเพื่อเตรียมจัดกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรมตามโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดไปแล้ว เป็นเงิน 13,550.-บาท (หนึ่งหมื่นสามพันห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน) คงเหลือเงินค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 76,650.-บาท (เจ็ดหมื่นหกพันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน) 2. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเดือนกุมภาพันธ์2564 มียอดผู้ติดเชื้อลดลง ฝ่ายปกครอง จึงได้ขอเห็นชอบจากผู้อำนวยการเขตจตุจักรกำหนดการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และกิจกรรมของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและภาคีเครือข่ายเพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักรในวันที่ 19 มิถุนายน 2564 และวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ตามหนังสือฝ่ายปกครอง ที่ กท 6501/222 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลับมามียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจำนวนมากในช่วงเมษายน ผู้อำนวยการเขตจตุจักรเห็นชอบการเลื่อนจัดกิจกรรมฯ ออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้นตามหนังสือ ฝ่ายปกครองที่ กท 6501/397 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 3. ตามข้อกำหนดออกตามมาตรา9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2558 (ฉบับที่ 28) ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กำหนดมาตรการควบคุมแบบบูรณาการเร่งด่วน เฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดปริมณฑล ห้ามการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มของบุคคลที่มีจำนวนรวมกันมากกว่า ห้าคน โดยให้เป็นไปตามข้อห้ามและข้อยกเว้นตามข้อกำหนด (ฉบับที่ 24) ลงวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2564 โดยให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจัดการอบรม การสัมมนา หรือการประชุมในช่วงระยะเวลานี้โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ ศปก.ศบค.กำหนด ประกอบกับประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 36) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2564 ข้อ 7 ห้ามการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มของบุคคลที่มีจำนวนรวมกันมากกว่าห้าคน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(4) อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และภาคีเครือข่าย เข้าร่วมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักร
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และภาคีเครือข่าย เข้าร่วมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักร

หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่า

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่า)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

95 / 50
2
1.00

100 / 50
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตจตุจักรโดยฝ่ายปกครองได้จัดประชุมคณะกรรมการฯ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 9 สำนักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ไม่สามารถจัดการประชุมได้ต้องรอสถานการณ์ผ่อนคลายจึงจะเริ่มดำเนินการได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- กิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด งบ 53,160 บาท กำหนดจัดในวันที่ 19 มิถุนายน 2564 แต่ขอเห็นชอบจาก ผอ. เลื่อนการกิจกรรม ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 - กิจกรรมของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร งบ 37,040 บาท กำหนดจัดกิจกรรมของอาสาฯ ใน วันที่ 26 มิถุนายน 2564 ขอเห็นชอบจาก ผอ. เลื่อนการกิจกรรม ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 แต่ทั้งนี้สำนักงานเขตจตุจักร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมโดยไม่ใช้งบประมาณ และจำกัดจำนวนคน ไม่เกิน 20 คน ในการแสดงพลังต่อต้านยาเสพติด ณ ริมคลองบางซื่อ เขตจตุจักร - วันที่ 23 มิถุนายน 2564 ได้จัดประชุมศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ ไตรมาสที่ 3/2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ฝ่ายปกครอง ได้ขอเห็นชอบจากผู้อำนวยการเขตจตุจักรกำหนดการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และกิจกรรมของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและภาคีเครือข่ายเพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักร ในวันที่ 16 มกราคม 2564 และ วันที่ 23 มกราคม 2564 ตามหนังสือฝ่ายปกครองที่ กท 6501/1116 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2563 และเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ผู้อำนวยการเขตจตุจักรเห็นชอบการเลื่อนจัดกิจกรรมดังกล่าวออกไปจนกว่าสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะคลี่คลาย ตามหนังสือฝ่ายปกครองที่ กท 6501/1195 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2563 ซึ่งค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรมตามโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เป็นเงิน 90,200.-บาท (เก้าหมื่นสองร้อยบาทถ้วน) แบ่งเป็น - ค่าวัสดุ จำนวน 13,550.- บาท (หนึ่งหมื่นสามพันห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน) - ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 76,650.-บาท (เจ็ดหมื่นหกพันหกร้อย ห้าสิบบาทถ้วน) ในการนี้ฝ่ายปกครองได้จัดซื้อวัสดุเพื่อเตรียมจัดกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรมตามโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดไปแล้ว เป็นเงิน 13,550.-บาท (หนึ่งหมื่นสามพันห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน) คงเหลือเงินค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 76,650.-บาท (เจ็ดหมื่นหกพันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน) 2. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเดือนกุมภาพันธ์2564 มียอดผู้ติดเชื้อลดลง ฝ่ายปกครอง จึงได้ขอเห็นชอบจากผู้อำนวยการเขตจตุจักรกำหนดการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด และกิจกรรมของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและภาคีเครือข่ายเพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตจตุจักรในวันที่ 19 มิถุนายน 2564 และวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ตามหนังสือฝ่ายปกครอง ที่ กท 6501/222 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลับมามียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจำนวนมากในช่วงเมษายน ผู้อำนวยการเขตจตุจักรเห็นชอบการเลื่อนจัดกิจกรรมฯ ออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้นตามหนังสือ ฝ่ายปกครองที่ กท 6501/397 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 3. ตามข้อกำหนดออกตามมาตรา9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2558 (ฉบับที่ 28) ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กำหนดมาตรการควบคุมแบบบูรณาการเร่งด่วน เฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดปริมณฑล ห้ามการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มของบุคคลที่มีจำนวนรวมกันมากกว่า ห้าคน โดยให้เป็นไปตามข้อห้ามและข้อยกเว้นตามข้อกำหนด (ฉบับที่ 24) ลงวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2564 โดยให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจัดการอบรม การสัมมนา หรือการประชุมในช่วงระยะเวลานี้โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ ศปก.ศบค.กำหนด ประกอบกับประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 36) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2564 ข้อ 7 ห้ามการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มของบุคคลที่มีจำนวนรวมกันมากกว่าห้าคน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ

(5) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่ กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่ กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

80 / 50
2
2.00

100 / 50
3
4.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- สำนักงานเขตจตุจักรได้ลงสำรวจคลองเปรมประชากร และคลองลาดพร้าว เพื่อจัดทำแผนการปฏิบัติการปรับปรุงคลองฯส่งสำนักการระบายน้ำ - สำนักงานเขตจตุจักรได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมย่อยในการพิจารณาการจัดทำแผนฯเพื่อปรับปรุงคลองฯโดยในที่ประชุมได้มอบหมายให้สำนักงานเขตจตุจักรดำเนินการพัฒนาคลองบางซื่อไปด้วย - สำนักงานเขตจตุจักรได้จัดทำแผนปฏิบัติการปรับปรุงภูมิทัศน์ฯ จัดทำแบบสรุปผลการสำรวจพื้นที่คลองเปรมประชากร คลองลาดพร้าว และคลองบางซื่อ รวมทั้งได้จัดทำโครงการพัฒนา และอนุรักษ์คลองเปรมประชากร คลองลาดพร้าว ในพื้นที่เขตจตุจักร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

คลองในพื้นที่ที่สำนักงานเขตรับผิดชอบ 3 คลอง (คลองลาดพร้าว คลองเปรมประชากร และคลองบางซื่อ) สำนักงานเขตได้ดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงานดังนี้ ประชุมร่วมบูรณาการร่วมกับหน่วยงานสำนักระบายน้ำ นำผลการสำรวจมาวิเคราะห์แล้วจัดทำแผนส่งสำนักการระบายน้ำแล้ว ในส่วนสำนักงานเขตต้องดำเนินงานในภาพรวมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ ได้สำรวจพื้นที่คลองลาดพร้าว และคลองเปรมประชากรร่วมกับ สนน. สนย. สจส. สวล.และสนท.เพื่อกำหนดจุดเช็คอิน 2 จุด - คลองลาดพร้าว กำหนดจุดเช็คอินตรงพื้นที่ว่างริมคลองลาดพร้าวหลัง PAR 3 (ระหว่างชุมชนพหลโยธิน 32 และชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม) - คลองเปรมประชากร คลองลาดพร้าว กำหนดจุดเช็คอินตรง พื้นที่ว่างชุมชนประชาร่วมใจ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

คลองในพื้นที่ที่สำนักงานเขตรับผิดชอบ 3 คลอง (คลองลาดพร้าว คลองเปรมประชากร และคลองบางซื่อ) สำนักงานเขตได้ดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงานดังนี้ ประชุมร่วมบูรณาการร่วมกับหน่วยงานสำนักระบายน้ำ นำผลการสำรวจมาวิเคราะห์แล้วจัดทำแผนส่งสำนักการระบายน้ำแล้ว ในส่วนสำนักงานเขตต้องดำเนินงานในภาพรวมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ ได้สำรวจพื้นที่คลองลาดพร้าว และคลองเปรมประชากรร่วมกับ สนน. สนย. สจส. สวล.และสนท.เพื่อกำหนดจุดเช็คอิน 2 จุด - คลองลาดพร้าว กำหนดจุดเช็คอินตรงพื้นที่ว่างริมคลองลาดพร้าวหลัง PAR 3 (ระหว่างชุมชนพหลโยธิน 32 และชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม) - คลองเปรมประชากร คลองลาดพร้าว กำหนดจุดเช็คอินตรง พื้นที่ว่างชุมชนประชาร่วมใจ 2 - คลองบางซื่อ กำหนดจุดเช็คอิน หลังตลาด อตก.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตจตุจักรได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่ จำนวน 3 คลอง ได้แก่ คลองเปรมประชากร คลองลาดพร้าว และคลองบางซื่อ คลองเปรมประชากรสามารถดำเนินการได้ ระหว่าง(สะพานรถไฟสายใต้ถึงชุมชนประชาร่วมใจ 1 หลังวัดเสมียนนารี) รวมระยะทาง 2.4 ก.ม. ได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองโดยจิตอาสาฯ และภาคีเครือข่าย เช่น ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะลงคลอง ประชาสัมพันธ์ไม่วางสิ่งของกีดขวางทางเดินรวมทั้งตัดและตกแต่งกิ่งไม้ริมคลอง ตรวจซ่อมสะพานข้ามคลองชุมชนสวนและสะพานข้ามคลองชุมชนประชารวมใจ 2 ให้มีความมั่นคงปลอดภัย นอกจากนี้สำนักงานเขตยังได้ดำเนินการสำรวจและติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างแบบอัตโนมัติโซล่าเซลล์ ริมคลองชุมชนประชาร่วมใจ 2 จำนวน 40 ดวง และยังสร้างจุดเช็คอินบริเวณ จุดสะพานข้ามคลองชุมชนประชาร่วมใจ 2 เพื่อเป็นเอกลักษณ์ในพื้นที่และสนับสนุนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวในโอกาศต่อไป คลองลาดพร้าว สำรวจแล้วพบพื้นที่ที่มีดำเนินการได้ ระยะทาง 900 เมตร ระหว่างชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม - พื้นที่ว่าง หลัง Pa 3 การดำเนินการในพื้นที่นี้ได้ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ประชาชนได้ทิ้งขยะลงคลอง ประกอบกับติดป้ายประชาสัมพันธ์ไม่ทิ้งขยะ ในพื้นที่ยังได้ร่วมกันพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณพื้นที่ว่างให้เป็นที่พักผ่อน และสร้างจุดเชคอินไว้ให้บริการในการเก็บภาพและส่งเสริมการท่องเที่ยวในอนาคตส่วนในด้านความปลอดภันนั้นสำนักงานเขตจตุจักรได้สำรวจและติดตั้งไฟฟ้าส่งสว่างแบบอัตโนมัติโซล่าเซลล์ บริเวณพื้นที่จุดเช็คอินไปตลอดถึงหลังชุมชน หลัง วค.จันทรเกษม จำนวน 20 ดวง อีกทั้งยังได้ประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตกับสำนักระยายน้ำในการซ่อมแซมท่าน้ำจุดหลังชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม คลองบางซื่อสำรวจแล้วพบพื้นที่ที่มีดำเนินการได้ ระยะทาง 380 เมตร หลังตลาด อตก. ตลอดแนวคลองบางซื่อส่วนใหญ่จะติดกับบ้านพักอาศัยของประชาชนที่มีการก่อสร้างเขื่อนเสร็จแล้วและคลองบางซื่อนั้นใช้เป็นคลองสำหรับระบายน้ำในการดำเนินงานกระทำได้ในส่วนของการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนริมคลองได้แก่ชุมชนโชคชัยร่วมมิตรไปจนถึงตลาด อตก. เพื่อไม่ให้ทิ้งขยะและปล่อยของเสียลงคลองตลอดจนประชาสัมพันธ์ไม่ให้วางสิ่งของลุกล้ำทางเดินทั้งนี้สำนักงานเขตได้ติดป้ายประชาสัมพันธ์ไม่ให้ทิ้งขยะลงคลอง การปรับภูมิทัศน์ได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ร่วมกับเครือข่ายประชาคมตลาด อตก. พื้นพัฒนาพื้นที่ริมคลองโดยปลูกผักกินได้จากการมีส่วนร่วมของประชาชนมาร่วมกันปลูกภายใต้ชื่อโครงการ บางซื่อ@จตุจักร คลองนี้มีรักปลูกผักแบ่งปัน จึงได้ทำกำหนดจุดเช็คอินไว้ตรงหลังตลาด อตก.

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(6) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00

95 / 100
2
50.00

100 / 50
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วางแผนและสำรวจเป้าหมายพื้นที่สีเขียวที่อยู่ในรูแบบสวนสาธารณะ/สวนหย่อมส่งสำนักสิ่งแวดล้อม พร้อมจัดส่งไปเป้าหมายไปยังสำนักสิ่วแวดล้อม จำนวน 1 ไร่ และวางแผนการสำรวจพื้นที่เขียวที่ไม่ใช่ส่วนสาธารณะในพื้นที่เขตจตุจักร พร้อมรายงานไตรมาสที่ 1 จำนวน 3 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- รายงานพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี ไตรมาสที่ 2 จำนวน 3 แห่ง - ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี (9 ประเภท) ไตรมาสที่ 3 จำนวน 3 แห่ง และรายงาน (สวนหย่อม 7 ประเภท) จำนวน 1 แห่ง - ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี (9 ประเภท) ไตรมาสที่ 4 จำนวน 3 แห่ง - ดำเนินการปลูกต้นไม้โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวครบทุกกิจกรรมพร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(7) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

85 / 50
2
0.00

100 / 50
3
0.00

100 / 100
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วันที่ 31 ตุลาคม 2563 จัดกิจกรรมลอยกระทงร่วมกับกลุ่มไทรทอง (ท้ายชุมชนพหลโยธิน32) กิจกรรมประกอบด้วยกิจกรรมลอยกระทง. จำหน่ายอาหารและสินค้า และประดิษฐ์กระทงจากวัสดุธรรมชาติ พร้อมนี้ได้นำวิทยากรจากศูนย์ฝึกอาชีพ​ สาธิตการประดิษฐ์กระทงจากวัสดุธรรมชาติ ให้กับสมาชิกชุมชนหลัง วค. จันทรเกษมและสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตจตุจักร ดกิจกรรมลอยกระทงและจำหน่ายสินค้าชุมชนบริเวณริมคลองลาดพร้าว ระหว่างชุมชนพหลโยธิน 32 และชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการส่งเสริมให้ชุมชนพหลโยธิน 32 และชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม ที่ขึ้นทะเบียนวิสาหกิจชุมชน แล้วนั้น สำนักพัฒนาสังคม และฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เขตจตุจักร จะมีการนำสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีชื่อเสียง เช่น กระเป๋าจักสานจากกลุ่มชุมชนสยามเวนิสจันทรเกษม นำมาส่งเสริมด้านการตลาด โดยเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าในเทศกาลต่างๆของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ชะลอโครงการเนื่องจากสถานการณ์โควิค-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

วันที่ 17 กรกฎาคม 2564 ดำเนินการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวริมคลองลาดพร้าว ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนหลัง วค.จันทรเกษม และประชาชนที่อยู่บริเวณใกล้เคียง ผ่านระบบออนไลน์ โดยการแสดงการสาธิตการสานตระกร้าจากเส้นพลาสติก และจำหน่ายสินค้าในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดจากไวรัสโควิด-19 โดยมีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 52 ราย มีความพึงพอใจมาก-มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(8) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :76.92

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
45.00

100 / 100
4
76.92

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโครงการที่เป็นงานประจำพื้นฐานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกโครงการที่เป็นงานประจำพื้นฐานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกโครงการที่เป็นงานประจำพื้นฐานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกโครงการที่เป็นงานประจำพื้นฐานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย 40 โครงการ ชะลอโครงการ 1 โครงการ ยกเลิกโครงการ 11 โครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด