ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50330000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :119.58

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
43.88

0 / 0
3
93.41

0 / 0
4
119.58

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำโครงการและได้รับอนุมัติงบประมาณแล้ว 2. เจ้าหน้าที่ได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์ เพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชน และเพื่อใช้ในการจัดอบรมสาธิตการดำเนินการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ให้กับประชาชนและชุมชนในพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์” และจัดทำแผนการอบรมสาธิตให้ความรู้กับประชาชนและชุมชนในพื้นที่ตามที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด จำนวน 12 ครั้ง/ปี 2. ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 และเจ้าหน้าที่ได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาเอนกประสงค์เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชน และใช้ในการอบรมสาธิตการดำเนินการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ให้กับประชาชนและชุมชนในพื้นที่ 3. เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่อบรมสาธิตให้ความรู้แก่ประชาชน จำนวน 2 ครั้ง (จากทั้งหมด 12 ครั้ง) 4. ดำเนินการคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564 ได้จำนวน 15,192.87 ตัน คิดเป็นร้อยละ 43.88 จากค่าเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการ “ส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์” จัดทำแผนอบรมสาธิตให้ความรู้กับประชาชน เป้าหมาย 12 ครั้ง/ปี ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการอบรมสาธิตและแจกจ่ายให้กับประชาชน และดำเนินการอบรมสาธิตให้ความรู้กับประชาชนแล้ว จำนวน 4 ครั้ง และมีการปรับแผนการลงพื้นที่เพื่ออบรมสาธิตให้ความรู้แก่ประชาชนจากเดิมให้แล้วเสร็จภายในเดือนมิถุนายน 2564 เป็นให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 2564 2. การคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ เป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด คือ 34,621.84 ตัน/ปี สำนักงานเขตคลองเตยได้บันทึกข้อมูลในระบบ Google Drive ของสำนักสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564 ได้จำนวน 32,340.86 ตัน คิดเป็นร้อยละ 93.41

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดการมูลฝอยตามแนวทางของเสียเหลือศูนย์ (ZEROWASTE) “ขยะถูกคัดแยกไปใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด เหลือขยะที่ต้องส่งไปกำจัดให้น้อยที่สุด” – สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินกิจกรรมสำนักงานเขตปลอดขยะ (Zero Waste District) เป็นประจำทุกเดือน โดยรณรงค์ให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันในการลดและคัดแยกขยะรีไซเคิล ขยะเศษอาหารนำกลับมาใช้ประโยชน์ และคัดแยกขยะอันตรายและขยะทั่วไปนำไปกำจัด – สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกขยะและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1) กิจกรรมขยะรีไซเคิลแลกไข่ 2) กิจกรรมกล่องยูเอชที รีไซเคิลได้ โดยคัดแยกกล่องเครื่องดื่มจากโรงเรียนนำไปรีไซเคิล 3) กิจกรรมการรณรงค์การรับรู้ปัญหาขยะและการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีตามหลัก 3R 2. จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภทใช้ประโยชน์หรือแยกไว้ส่งกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะโดยจัดให้มีถังรองรับขยะประจำวัน 2 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุด ต่อ 1 ฝ่าย/กลุ่มงาน และฝ่าย/กลุ่มงานมอบผู้รับผิดชอบเก็บขยะรีไซเคิลขาย และนำขยะทั่วไปทิ้งยังจุดทิ้งขยะของหน่วยงาน พร้อมบันทึกน้ำหนักเพื่อส่งรายงานผลประจำเดือน – สำนักงานเขตคลองเตย ตั้งวางถังพลาสติกตามโครงการ “วน” เพื่อลดขยะพลาสติกอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าลิฟท์ ชั้น 1 และจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ถึงอันตรายจากขยะพลาสติก เพื่อประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ – ตั้งถังรองรับขยะแยกประเภท 2 ประเภท ในที่สาธารณะ สถานที่ท่องเที่ยว และสวนสาธารณะ ดังนี้ 1) MRT ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ถนนรัชดาภิเษก 2) ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ถนนพระราม 4 3) สวนเบญจสิริ 3. ตั้งจุดรับขยะอันตราย อย่างน้อย ส่วนราชการละ 1 จุด สำหรับ “ขยะอันตรายชิ้นเล็ก” เช่น ถ่านไฟฉาย กระดาษคาร์บอน ปากกา ฯ ส่วน “ขยะอันตรายชิ้นใหญ่” เช่น กระป๋องสเปรย์ หลอดไฟ หมึกพิมพ์ ฯ นำทิ้งที่จุดรวมขยะอันตรายที่ส่วนราชการกำหนด และประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย มอบหมายเจ้าหน้าที่รวบรวมส่งให้เจ้าหน้าที่เก็บขนมูลฝอยจากสำนักงานเขต ตามวัน/เวลาที่กำหนด - สำนักงานเขตคลองเตยตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายภายในสำนักงานเขต จำนวน 3 จุด ดังนี้ 1) ภายในอาคารสำนักงานเขตจำนวน 3 จุด ได้แก่ บริเวณหน้าลิฟท์ ชั้น 1 บริเวณทางเดินชั้น 2 และหน้าเรือนเพาะชำ 2) สถานีบริการน้ำมัน จำนวน 4 จุด ได้แก่ ปั๊มเชลล์ ถนนพระราม 4 ปั๊มเอสโซ่ ถนนพระราม 4 ปั๊มเอสโซ่ ถนนสุขุมวิท และปั๊ม ปตท. ถนนพระราม 4 3) ชุมชนเขตคลองเตย จำนวน 1 จุด/ชุมชน (ทั้งหมด 39 ชุมชน) 4) ศาสนสถาน จำนวน 1 จุด ได้แก่ วัดสะพาน เขตคลองเตย 5) สถานศึกษา จำนวน 7 จุด ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลบ้านรัก โรงเรียนดาราคาม โรงเรียนวัดสะพาน โรงเรียนปทุมคงคา โรงเรียนศูนย์รวมน้ำใจ โรงเรียนวัดคลองเตย และโรงเรียนชุมชนหมูบ้านพัฒนา 6) ห้างสรรพสินค้า/โรงแรม จำนวน 2 จุด ได้แก่ ห้างสรรพสินค้าดิเอ็มโพเรียม และโรงแรมดิเอมโพริโอ 4. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า ไว้ใช้หน้าถัดไป โดยประทับตราหน้าที่ใช้แล้วด้วยตัวอักษรสีแดง เช่น “กระดาษใช้สองหน้า รักษาสิ่งแวดล้อม” - สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า ไว้ใช้หน้าถัดไป จำนวน 1 จุด/ฝ่าย 5. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 2 หน้า “แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล” ไม่ทิ้งกระดาษลงถังขยะรีไซเคิล หรือถังขยะทั่วไป เพราะจะทำให้กระดาษเปียกชื้นสูญเสียสภาพไม่สามารถนำไปรีไซเคิลได้ - สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการตั้งถังรองรับมูลฝอยแยกประเภท จำนวน 1 จุด/ฝ่าย 6. จัดจุด “ถุงผ้าให้ยืม” ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก “ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว” - สำนักงานเขตคลองเตยจัดจุด ถุงผ้าให้ยืม และประชาสัมพันธ์ให้เปลี่ยนจากการใช้ถุงพลาสติกหูหิ้วและกล่องโพม เป็นถุงผ้า แก้วน้ำส่วนตัวและกล่องใส่ข้าวแทน 7. สร้างลักษณะนิสัยแยกก่อนทิ้ง ด้วยการรณรงค์สร้างความเข้าใจแก่บุคลากรและ ผู้มาติดต่อให้ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง” - สำนักงานเขตคลองเตยจุดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด โดยการให้ความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีตามหลัก 3R และให้ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง” แก่ประชาชนที่มาติดต่อราชการ 8. การคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ เป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด คือ 34,621.84 ตัน/ปี สำนักงานเขตคลองเตยได้บันทึกข้อมูลในระบบ Google Drive ของสำนักสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ได้จำนวน 41,400.51 ตัน คิดเป็นร้อยละ 119.58

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :119.58

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
43.88

0 / 0
3
93.41

0 / 0
4
119.58

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำโครงการและได้รับอนุมัติงบประมาณแล้ว 2. เจ้าหน้าที่ได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์ เพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชน และเพื่อใช้ในการจัดอบรมสาธิตการดำเนินการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ให้กับประชาชนและชุมชนในพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์” และจัดทำแผนการอบรมสาธิตให้ความรู้กับประชาชนและชุมชนในพื้นที่ตามที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด จำนวน 12 ครั้ง/ปี 2. ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 และเจ้าหน้าที่ได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาเอนกประสงค์เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชน และใช้ในการอบรมสาธิตการดำเนินการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์ให้กับประชาชนและชุมชนในพื้นที่ 3. เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่อบรมสาธิตให้ความรู้แก่ประชาชน จำนวน 2 ครั้ง (จากทั้งหมด 12 ครั้ง) 4. ดำเนินการคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2564 ได้จำนวน 15,192.87 ตัน คิดเป็นร้อยละ 43.88 จากค่าเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการ “ส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์” จัดทำแผนอบรมสาธิตให้ความรู้กับประชาชน เป้าหมาย 12 ครั้ง/ปี ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการอบรมสาธิตและแจกจ่ายให้กับประชาชน และดำเนินการอบรมสาธิตให้ความรู้กับประชาชนแล้ว จำนวน 4 ครั้ง และมีการปรับแผนการลงพื้นที่เพื่ออบรมสาธิตให้ความรู้แก่ประชาชนจากเดิมให้แล้วเสร็จภายในเดือนมิถุนายน 2564 เป็นให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 2564 2. การคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ เป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด คือ 34,621.84 ตัน/ปี สำนักงานเขตคลองเตยได้บันทึกข้อมูลในระบบ Google Drive ของสำนักสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564 ได้จำนวน 32,340.86 ตัน คิดเป็นร้อยละ 93.41

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดการมูลฝอยตามแนวทางของเสียเหลือศูนย์ (ZEROWASTE) “ขยะถูกคัดแยกไปใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด เหลือขยะที่ต้องส่งไปกำจัดให้น้อยที่สุด” – สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินกิจกรรมสำนักงานเขตปลอดขยะ (Zero Waste District) เป็นประจำทุกเดือน โดยรณรงค์ให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันในการลดและคัดแยกขยะรีไซเคิล ขยะเศษอาหารนำกลับมาใช้ประโยชน์ และคัดแยกขยะอันตรายและขยะทั่วไปนำไปกำจัด – สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกขยะและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1) กิจกรรมขยะรีไซเคิลแลกไข่ 2) กิจกรรมกล่องยูเอชที รีไซเคิลได้ โดยคัดแยกกล่องเครื่องดื่มจากโรงเรียนนำไปรีไซเคิล 3) กิจกรรมการรณรงค์การรับรู้ปัญหาขยะและการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีตามหลัก 3R 2. จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภทใช้ประโยชน์หรือแยกไว้ส่งกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะโดยจัดให้มีถังรองรับขยะประจำวัน 2 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุด ต่อ 1 ฝ่าย/กลุ่มงาน และฝ่าย/กลุ่มงานมอบผู้รับผิดชอบเก็บขยะรีไซเคิลขาย และนำขยะทั่วไปทิ้งยังจุดทิ้งขยะของหน่วยงาน พร้อมบันทึกน้ำหนักเพื่อส่งรายงานผลประจำเดือน – สำนักงานเขตคลองเตย ตั้งวางถังพลาสติกตามโครงการ “วน” เพื่อลดขยะพลาสติกอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าลิฟท์ ชั้น 1 และจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ถึงอันตรายจากขยะพลาสติก เพื่อประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ – ตั้งถังรองรับขยะแยกประเภท 2 ประเภท ในที่สาธารณะ สถานที่ท่องเที่ยว และสวนสาธารณะ ดังนี้ 1) MRT ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ถนนรัชดาภิเษก 2) ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ถนนพระราม 4 3) สวนเบญจสิริ 3. ตั้งจุดรับขยะอันตราย อย่างน้อย ส่วนราชการละ 1 จุด สำหรับ “ขยะอันตรายชิ้นเล็ก” เช่น ถ่านไฟฉาย กระดาษคาร์บอน ปากกา ฯ ส่วน “ขยะอันตรายชิ้นใหญ่” เช่น กระป๋องสเปรย์ หลอดไฟ หมึกพิมพ์ ฯ นำทิ้งที่จุดรวมขยะอันตรายที่ส่วนราชการกำหนด และประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย มอบหมายเจ้าหน้าที่รวบรวมส่งให้เจ้าหน้าที่เก็บขนมูลฝอยจากสำนักงานเขต ตามวัน/เวลาที่กำหนด - สำนักงานเขตคลองเตยตั้งจุดทิ้งมูลฝอยอันตรายภายในสำนักงานเขต จำนวน 3 จุด ดังนี้ 1) ภายในอาคารสำนักงานเขตจำนวน 3 จุด ได้แก่ บริเวณหน้าลิฟท์ ชั้น 1 บริเวณทางเดินชั้น 2 และหน้าเรือนเพาะชำ 2) สถานีบริการน้ำมัน จำนวน 4 จุด ได้แก่ ปั๊มเชลล์ ถนนพระราม 4 ปั๊มเอสโซ่ ถนนพระราม 4 ปั๊มเอสโซ่ ถนนสุขุมวิท และปั๊ม ปตท. ถนนพระราม 4 3) ชุมชนเขตคลองเตย จำนวน 1 จุด/ชุมชน (ทั้งหมด 39 ชุมชน) 4) ศาสนสถาน จำนวน 1 จุด ได้แก่ วัดสะพาน เขตคลองเตย 5) สถานศึกษา จำนวน 7 จุด ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลบ้านรัก โรงเรียนดาราคาม โรงเรียนวัดสะพาน โรงเรียนปทุมคงคา โรงเรียนศูนย์รวมน้ำใจ โรงเรียนวัดคลองเตย และโรงเรียนชุมชนหมูบ้านพัฒนา 6) ห้างสรรพสินค้า/โรงแรม จำนวน 2 จุด ได้แก่ ห้างสรรพสินค้าดิเอ็มโพเรียม และโรงแรมดิเอมโพริโอ 4. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า ไว้ใช้หน้าถัดไป โดยประทับตราหน้าที่ใช้แล้วด้วยตัวอักษรสีแดง เช่น “กระดาษใช้สองหน้า รักษาสิ่งแวดล้อม” - สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า ไว้ใช้หน้าถัดไป จำนวน 1 จุด/ฝ่าย 5. ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 2 หน้า “แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล” ไม่ทิ้งกระดาษลงถังขยะรีไซเคิล หรือถังขยะทั่วไป เพราะจะทำให้กระดาษเปียกชื้นสูญเสียสภาพไม่สามารถนำไปรีไซเคิลได้ - สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการตั้งถังรองรับมูลฝอยแยกประเภท จำนวน 1 จุด/ฝ่าย 6. จัดจุด “ถุงผ้าให้ยืม” ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก “ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว” - สำนักงานเขตคลองเตยจัดจุด ถุงผ้าให้ยืม และประชาสัมพันธ์ให้เปลี่ยนจากการใช้ถุงพลาสติกหูหิ้วและกล่องโพม เป็นถุงผ้า แก้วน้ำส่วนตัวและกล่องใส่ข้าวแทน 7. สร้างลักษณะนิสัยแยกก่อนทิ้ง ด้วยการรณรงค์สร้างความเข้าใจแก่บุคลากรและ ผู้มาติดต่อให้ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง” - สำนักงานเขตคลองเตยจุดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด โดยการให้ความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีตามหลัก 3R และให้ “คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง” แก่ประชาชนที่มาติดต่อราชการ 8. การคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดเพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์ เป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด คือ 34,621.84 ตัน/ปี สำนักงานเขตคลองเตยได้บันทึกข้อมูลในระบบ Google Drive ของสำนักสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ได้จำนวน 41,400.51 ตัน คิดเป็นร้อยละ 119.58

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(3) ร้อยละความสำเร็จของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละความสำเร็จของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :30.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
30.00

0 / 0
3
30.00

0 / 0
4
30.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน โดยมีแผนการดำเนินกิจกรรมระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน โดยมีแผนการดำเนินกิจกรรมระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มิถุนายน 2564 2. กำหนดอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ภายในเดือนพฤษภาคม 2564 3. กำหนดการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก ในวันที่ 26 มิถุนายน 2564 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. กำหนดอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ภายในเดือนกรกฎาคม 2564 2. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ยังคงมีแนวโน้มขยายเป็นวงกว้าง สำนักงาน ป.ป.ส. จึงกำหนดแนวทางเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก (26 มิถุนายน 2564) โดยให้งดจัดกิจกรรมที่มีการร่วมกลุ่มคนในพื้นที่และให้ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เนื่องในวันต่อต้ายาเสพติดโลก ดังนั้นสำนักงานเขตคลองเตยจัดกิจกรรมร่วมถ่ายภาพรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง Facebook เพจสำนักงานเขตคลองเตย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ยกเลิกการอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ 2. ยกเลิกการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก ในวันที่ 26 มิถุนายน 2564 3. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ยังคงมีแนวโน้มขยายเป็นวงกว้าง สำนักงาน ป.ป.ส. จึงกำหนดแนวทางเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก (26 มิถุนายน 2564) โดยให้งดจัดกิจกรรมที่มีการร่วมกลุ่มคนในพื้นที่และให้ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เนื่องในวันต่อต้ายาเสพติดโลก ดังนั้นสำนักงานเขตคลองเตยจัดกิจกรรมร่วมถ่ายภาพรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง Facebook เพจสำนักงานเขตคลองเตย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(4) ร้อยละความสำเร็จของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละความสำเร็จของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :30.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
30.00

0 / 0
3
30.00

0 / 0
4
30.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน โดยมีแผนการดำเนินกิจกรรมระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน โดยมีแผนการดำเนินกิจกรรมระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มิถุนายน 2564 2. กำหนดอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ภายในเดือนพฤษภาคม 2564 3. กำหนดการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก ในวันที่ 26 มิถุนายน 2564 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. กำหนดอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ภายในเดือนกรกฎาคม 2564 2. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ยังคงมีแนวโน้มขยายเป็นวงกว้าง สำนักงาน ป.ป.ส. จึงกำหนดแนวทางเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก (26 มิถุนายน 2564) โดยให้งดจัดกิจกรรมที่มีการร่วมกลุ่มคนในพื้นที่และให้ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เนื่องในวันต่อต้ายาเสพติดโลก ดังนั้นสำนักงานเขตคลองเตยจัดกิจกรรมร่วมถ่ายภาพรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง Facebook เพจสำนักงานเขตคลองเตย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ยกเลิกการอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ 2. ยกเลิกการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก ในวันที่ 26 มิถุนายน 2564 3. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ยังคงมีแนวโน้มขยายเป็นวงกว้าง สำนักงาน ป.ป.ส. จึงกำหนดแนวทางเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก (26 มิถุนายน 2564) โดยให้งดจัดกิจกรรมที่มีการร่วมกลุ่มคนในพื้นที่และให้ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เนื่องในวันต่อต้ายาเสพติดโลก ดังนั้นสำนักงานเขตคลองเตยจัดกิจกรรมร่วมถ่ายภาพรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง Facebook เพจสำนักงานเขตคลองเตย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(5) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย
- ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
13.43

100 / 100
2
48.27

0 / 0
3
87.75

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วันที่ 1 ตุลาคม - 30 พฤศจิกายน 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (3 ดาว) จำนวน 119 แห่ง (จากจำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 886 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 13.43

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (3 ดาว) จำนวน 420 แห่ง (จากจำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 886 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 48.27

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

– ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพพมหานคร ระดับดี เป้าหมาย 871 แห่ง สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564 ได้จำนวน 773 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 88.75 – ดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 –มิถุนายน 2564 ตรวจพบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต จำนวน 39 แห่ง และได้รับการตรวจคุณภาพอาหารแล้ว จำนวน 39 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

– ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพพมหานคร ระดับดี เป้าหมาย 872 แห่ง และสามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร 715 ราย 2. ซูเปอร์มาเก็ต 11 ราย 3. มินิมาร์ท 63 ราย 4. แผงลอยจำหน่ายอาหาร 79 ราย 5. ตลาด 4 ราย สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ได้จำนวน 872 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 – ดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต ดังนี้ สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ตรวจพบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต จำนวน 71 แห่ง และได้รับการตรวจคุณภาพอาหารแล้ว จำนวน 71 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 – จำนวนสถานประกอบการทั้งหมดในพื้นที่เขตคลองเตยจำนวน 872 แห่ง ข้อมูล ณ วันที่ 20 กันยายน 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย - ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย
- ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :27.29


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.38

100 / 100
2
7.47

0 / 0
3
25.83

0 / 0
4
27.29

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วันที่ 1 ตุลาคม - 30 พฤศจิกายน 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก/Green Service (4 ดาว) จำนวน 30 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.38

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก/Green Service (4 ดาว) จำนวน 65 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 7.47

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

– สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) เป้าหมาย 870 แห่ง สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน ได้จำนวน 225 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.83

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

– สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) เป้าหมาย 179 แห่ง และสามารถดำเนินการได้ ดังนี้ 1. สถานที่จำหน่ายอาหาร 211 ราย 2. ซูเปอร์มาเก็ต 8 ราย 3. มินิมาร์ท 19 ราย สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ได้จำนวน 238 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 27.29

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(7) จำนวนคลองสายหลักที่ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
จำนวนคลองสายหลักที่ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
60.00

0 / 0
3
90.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจพื้นที่คลองเพื่อนำข้อมูลมาจัดทำแผนการดำเนินโครงการ 2. จัดทำโครงการและแผนการดำเนินงาน 3. จัดทำแบบสำรวจคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

– ขั้นตอนการเตรียมการดำเนินงาน 1. สำรวจพื้นที่คลองเพื่อนำข้อมูลมาจัดทำแผนการดำเนินโครงการ 2. จัดทำโครงการและแผนการดำเนินงาน 3. จัดทำแบบสำรวจคลองส่งให้สำนักการระบายน้ำ – ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. องค์ประกอบที่ 1 ด้านความสวยงาม 1.1 ดำเนินการสร้างจุดเช็คอิน Check in จุดพักผ่อนริมคลอง จุดชมวิวทิวทัศน์ริมคลอง แล้วเสร็จจำนวน 1 จุด 1.2 อยู่ระหว่างประสาน สจส. ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกนักท่องเที่ยว 1.3 อยู่ระหว่างประสาน สจส. ติดตั้งป้ายเส้นทางจราจรทางน้ำ 1.4 ดำเนินการติดตั้งป้ายประดับที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่แล้วเสร็จ จำนวน 1 ป้าย 1.5 ดำเนินการปรับปรุงท่าน้ำให้สวยงามและมีสภาพดี โดยการตรวจสอบความแข็งแรงของท่าเรือและดำเนินการทาสีให้สวยงามเรียบร้อยแล้ว 2. องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ (การรณรงค์,ติดป้ายประชาสัมพันธ์,การกระจายเสียง,เว็บไซต์) แล้วเสร็จจำนวน 2 ชุมชน (ชุมชนริมคลองวัดสะพาน และชุมชนริมคลองพระโขนง) 2.2 ดำเนินการให้ความรู้กับประชาชนริมคลอง เรื่อง การคัดแยกขยะ แล้วเสร็จจำนวน 2 ชุมชน (ชุมชนริมคลองวัดสะพานและชุมชนริมคลองพระโขนง) 2.3 ดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดเก็บขยะเพื่อลดการทิ้งขยะลงในคลอง แล้วเสร็จจำนวน 2 ชุมชน (ชุมชนริมคลองวัดสะพาน และชุมชนริมคลองพระโขนง) 3. องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 ดำเนินการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง โดยได้สำรวจและกำหนดจุดติดตั้งเรียบร้อยแล้ว 3.2 ดำเนินการประสานหน่วยงานต่างเพื่อสนับสนุนไฟฟ้าส่องสว่างให้กับชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนจากบริษัทวิชดอม Whizdom by MQDC ดำเนินโครงการ CSR ด้วยการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนรอบพื้นที่โครงการ โดยการติดตั้งเสาโคมไฟโซล่าเซลล์ให้แก่ชุมชนเกาะกลางจำนวน 6 จุด 3.3 ดำเนินการตรวจสอบซ่อมแซมราวกันตกริมคลองให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน โดยดำเนินการสำรวจแนวกันตกริมคลองบริเวณชุมชนเกาะกลางและได้ดำเนินการซ่อมแซมในส่วนที่ชำรุดให้แข็งแรง มั่นคง เรียบร้อยแล้ว 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. องค์ประกอบที่ 1 ด้านความสวยงาม 1.1 สร้างจุดเช็คอิน Check in เป้าหมาย 1 จุด ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 จุด 1.2 ติดตั้งป้ายประดับที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ เป้าหมาย 1 ป้าย ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 ป้าย 1.3 ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกนักท่องเที่ยว เป้าหมาย 1 ป้าย อยู่ระหว่างประสาน สจส. ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกนักท่องเที่ยว จำนวน 3 ป้าย ตามหนังสือเลขที่ กท 7203/754 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 1.4 ติดตั้งป้ายเส้นทางจราจรทางน้ำ เป้าหมาย 1 ป้าย อยู่ระหว่างประสาน สจส. ติดตั้งป้ายเส้นทางจราจรทางน้ำ จำนวน 1 ป้าย ตามหนังสือเลขที่ กท 7203/754 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 1.5 ปรับปรุงท่าน้ำ เป้าหมาย 1 จุด ดำเนินการทาสีให้สวยงามเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 จุด 2. องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนริมคลอง เรื่อง การคัดแยกขยะ และการบริหารจัดเก็บขยะเพื่อลดการทิ้งขยะลงในคลอง เป้าหมาย 4 ชุมชน ดำเนินการเรียบร้อยแล้วจำนวน 4 ชุมชน (ชุมชนริมคลองวัดสะพาน,ชุมชนริมคลองพระโขนง,ชุมชนเกาะกลาง,ชุมชนเปรมฤทัย) 2.2 ให้ความรู้เรื่องกับประชาชน ริมคลอง เรื่อง การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน เป้าหมาย 1 ชุมชน ดำเนินการเรียบร้อยแล้วจำนวน 1 ชุมชน (ชุมชนเกาะกลาง) 3. องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง ดำเนินการสำรวจและกำหนดจุดติดตั้งเรียบร้อยแล้ว จำนวน 6 จุด 3.2 ดำเนินการประสานหน่วยงานต่างเพื่อสนับสนุนไฟฟ้าส่องสว่างให้กับชุมชน ดำเนินการประสานและได้รับการสนับสนุนจากบริษัท Whizdom by MQDC ภายใต้โครงการ CSR ด้วยการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนรอบพื้นที่โครงการ โดยการติดตั้งเสาโคมไฟโซล่าเซลล์ให้แก่ชุมชนเกาะกลางจำนวน 6 จุด 3.3 ตรวจสอบซ่อมแซมราวกันตกริมคลองให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ดำเนินการสำรวจแนวกันตกริมคลองบริเวณชุมชนเกาะกลางและได้ดำเนินการซ่อมแซมในส่วนที่ชำรุดให้แข็งแรง มั่นคง เรียบร้อยแล้ว คณะกรรมการลงพื้นที่ตรวจสภาพคลองเรียบร้อยแล้วและมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. ให้ดำเนินการทาสีบันไดทางเขาชุมชนเกาะกลาง 2. ให้ดำเนินการจัดเก็บสายสื่อสารบริเวณชุมชนเกาะกลาง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. องค์ประกอบที่ 1 ด้านความสวยงาม 1.1 สร้างจุดเช็คอิน Check in เป้าหมาย 1 จุด ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 จุด 1.2 ติดตั้งป้ายประดับที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ เป้าหมาย 1 ป้าย ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 ป้าย 1.3 ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกนักท่องเที่ยว เป้าหมาย 1 ป้าย ดำเนินการประสาน สจส. ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกนักท่องเที่ยว จำนวน 3 ป้าย เรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือเลขที่ กท 7203/754 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 1.4 ติดตั้งป้ายเส้นทางจราจรทางน้ำ เป้าหมาย 1 ป้าย ดำเนินการประสาน สจส. ติดตั้งป้ายเส้นทางจราจรทางน้ำ จำนวน 1 ป้าย เรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือเลขที่ กท 7203/754 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 1.5 ปรับปรุงท่าน้ำ เป้าหมาย 1 จุด ดำเนินการทาสีให้สวยงามเรียบร้อยแล้ว จำนวน 1 จุด 2. องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนริมคลอง เรื่อง การคัดแยกขยะ และการบริหารจัดเก็บขยะเพื่อลดการทิ้งขยะลงในคลอง เป้าหมาย 4 ชุมชน ดำเนินการเรียบร้อยแล้วจำนวน 4 ชุมชน (ชุมชนริมคลองวัดสะพาน,ชุมชนริมคลองพระโขนง,ชุมชนเกาะกลาง,ชุมชน เปรมฤทัย) 2.2 ให้ความรู้เรื่องกับประชาชน ริมคลอง เรื่อง การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน เป้าหมาย 1 ชุมชน ดำเนินการเรียบร้อยแล้วจำนวน 1 ชุมชน (ชุมชนเกาะกลาง) 3. องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง ดำเนินการสำรวจและกำหนดจุดติดตั้งเรียบร้อยแล้ว จำนวน 6 จุด 3.2 ดำเนินการประสานหน่วยงานต่างเพื่อสนับสนุนไฟฟ้าส่องสว่างให้กับชุมชน ดำเนินการประสานและได้รับการสนับสนุนจากบริษัท Whizdom by MQDC ภายใต้โครงการ CSR ด้วยการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนรอบพื้นที่โครงการ โดยการติดตั้งเสาโคมไฟโซล่าเซลล์ให้แก่ชุมชนเกาะกลางจำนวน 6 จุด 3.3 ตรวจสอบซ่อมแซมราวกันตกริมคลองให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ดำเนินการสำรวจแนวกันตกริมคลองบริเวณชุมชนเกาะกลางและได้ดำเนินการซ่อมแซมในส่วนที่ชำรุดให้แข็งแรง มั่นคง เรียบร้อยแล้ว ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(8) พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
80.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว 2. สำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการ 3. ขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 1 และงวดที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว – สำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการและได้รับอนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว – ดำเนินการขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 2 (ก.พ. – พ.ค. 46) – ดำเนินการจัดหาวัสดุตามโครงการโดยวิธี e – bidding ขณะนี้ได้ผู้ประกอบการแล้ว อยู่ระหว่างลงนามในสัญญา กรณีได้รับเงินประจำงวด – ได้รับเงินอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว เมื่อเดือนมีนาคม 2564 และลงนามในสัญญา (ใบสั่งซื้อ) เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 ครบกำหนดสัญญาวันที่ 24 มีนาคม 2564 2. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม (7 ประเภท) – ทำการตกลงพื้นที่เป้าหมายกับสำนักสิ่งแวดล้อม 10 ไร่ 2 งาน – ดำเนินการสำรวจพื้นที่ตามเป้าหมายได้แล้ว 7 ไร่ 2 งาน และได้ลงข้อมูลในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. แล้ว 3. พื้นที่สีเขียวไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) – สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 9 ประเภท 12 แห่ง/ปี – ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 9 ประเภท ได้ครบจำนวน 12 แห่ง/ปี และได้ลงข้อมูลในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. แล้ว 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว ดำเนินการจัดหาวัสดุตามโครงการโดยวิธี e-bidding ได้ลงนามในสัญญาและดำเนินการส่งของเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 เพื่อจัดซื้อต้นไม้และวัสดุต่างๆ โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการ ได้แก่ ถนนสุขุมวิท ถนนพระราม 4 ถนนรัชดาภิเษก ถนนอาจณรงค์ และสำนักงานเขตคลองเตย รวมทั้งการประดับตกแต่งในกิจกรรมต่างๆ และดำเนินการปลูกต้นไม้ตามโครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเรียบร้อยแล้ว 2. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะหรือสวนหย่อม (7 ประเภท) ได้ทำการตกลงพื้นที่เป้าหมายกับสำนักสิ่งแวดล้อม จำนวน 10 ไร่ 2 งาน สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมาย และได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้วจำนวน 10 ไร่ 2 งาน ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. 3. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 12 แห่ง สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมายและได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้ว จำนวน 12 แห่ง ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ของ กทม. 4. ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. โครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว ดำเนินการจัดหาวัสดุตามโครงการโดยวิธี e-bidding ได้ลงนามในสัญญาและดำเนินการส่งของเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 เพื่อจัดซื้อต้นไม้และวัสดุต่างๆ โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการ ได้แก่ ถนนสุขุมวิท ถนนพระราม 4 ถนนรัชดาภิเษก ถนนอาจณรงค์ และสำนักงานเขตคลองเตย รวมทั้งการประดับตกแต่งในกิจกรรมต่างๆ และดำเนินการปลูกต้นไม้ตามโครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเรียบร้อยแล้ว 2. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะหรือสวนหย่อม (7 ประเภท) ได้ทำการตกลงพื้นที่เป้าหมายกับสำนักสิ่งแวดล้อม จำนวน 10 ไร่ 2 งาน สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมายและได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้วจำนวน 10 ไร่ 2 งาน ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. 3. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 12 แห่ง สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมายและได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้ว จำนวน 12 แห่ง ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(9) ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :93.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
93.00

0 / 0
4
93.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยู่ระหว่างดำเนินการคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตคลองเตย 2. กำหนดจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ โดยมีเจ้าของภูมิปัญญา คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะกลาง 2. กำหนดจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ โดยมีเจ้าของภูมิปัญญา คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะกลาง จัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ลานด้านหน้าห้างสรรพสินค้าโลตัส สุขุมวิท 50 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 93

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการ ดังนี้ 1. ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ โดยมีเจ้าของภูมิปัญญา คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะกลาง 2. ดำเนินการจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ลานด้านหน้าห้างสรรพสินค้าโลตัสสุขุมวิท 50 3. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 93

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(10) ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :93.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
93.00

0 / 0
4
93.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยู่ระหว่างดำเนินการคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตคลองเตย 2. กำหนดจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ โดยมีเจ้าของภูมิปัญญา คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะกลาง 2. กำหนดจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ โดยมีเจ้าของภูมิปัญญา คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะกลาง จัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ลานด้านหน้าห้างสรรพสินค้าโลตัส สุขุมวิท 50 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 93

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการ ดังนี้ 1. ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ โดยมีเจ้าของภูมิปัญญา คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะกลาง 2. ดำเนินการจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ลานด้านหน้าห้างสรรพสินค้าโลตัสสุขุมวิท 50 3. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 93

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(11) ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :15.87

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
15.87

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการจัดการสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 2. จัดสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนในช่วงเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน ช่วงหลังเลิกเรียนทุกวัน และในวันหยุดราชการ เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) 3. กำหนดการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ยกเลิกการดำเนินกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานในโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา “คลองเตยโมเดล” กรุงเทพมหานคร และโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการทดสอบทาบงการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ที่กำหนดให้ยกเลิกการทดสอบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัวของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ 2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประสงค์เข้ารับการทดสอบ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 69 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 214 คน คิดเป็นร้อยละ 32.24 - ระดับประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 52 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 3. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 โดยประกาศผลสอบระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 21 เมษายน 2564 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 22 เมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ยกเลิกการดำเนินกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานในโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา “คลองเตยโมเดล” กรุงเทพมหานคร และโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการทดสอบทาบงการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ที่กำหนดให้ยกเลิกการทดสอบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัวของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ 2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประสงค์เข้ารับการทดสอบ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 63 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 214 คน คิดเป็นร้อยละ 29.44 - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 52 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 3. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 โดยมีผลคะแนนเฉลี่ยทางการทดสอบฯ ระดับสำนักงานเขต ดังนี้ 3.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 – วิชาภาษาไทย 45.81 – วิชาภาษาอังกฤษ 34.29 – วิชาคณิตศาสตร์ 22.90 – วิชาวิทยาศาสตร์ 35.34 3.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิชาภาษาไทย 44.93 – วิชาภาษาอังกฤษ 28.47 – วิชาคณิตศาสตร์ 19.33 – วิชาวิทยาศาสตร์ 25.66

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ยกเลิกการดำเนินกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานในโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา “คลองเตยโมเดล” กรุงเทพมหานคร และโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการทดสอบทาบงการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ที่กำหนดให้ยกเลิกการทดสอบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัวของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ 2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประสงค์เข้ารับการทดสอบ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 63 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 214 คน คิดเป็นร้อยละ 29.44 - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 52 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 3. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 ผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบฯ ระดับสำนักงานเขต ดังนี้ ผลสอบระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 – วิชาภาษาไทย 45.81 – วิชาภาษาอังกฤษ 34.29 – วิชาคณิตศาสตร์ 22.90 – วิชาวิทยาศาสตร์ 35.34 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – วิชาภาษาไทย 44.93 – วิชาภาษาอังกฤษ 28.47 – วิชาคณิตศาสตร์ 19.33 – วิชาวิทยาศาสตร์ 25.66 4. นักเรียนประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 คิดเป็นร้อยละของนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด ดังนี้ – วิชาภาษาไทย ร้อยละ 38.10 – วิชาภาษาอังกฤษ ร้อยละ 12.70 – วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ 0.00 – วิชาวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 12.70 5. ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมาย ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 15.87

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :15.87


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
15.87

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการจัดการสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 2. จัดสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนในช่วงเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน ช่วงหลังเลิกเรียนทุกวัน และในวันหยุดราชการ เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) 3. กำหนดการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ยกเลิกการดำเนินกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานในโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา “คลองเตยโมเดล” กรุงเทพมหานคร และโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการทดสอบทาบงการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ที่กำหนดให้ยกเลิกการทดสอบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัวของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ 2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประสงค์เข้ารับการทดสอบ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 69 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 214 คน คิดเป็นร้อยละ 32.24 - ระดับประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 52 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 3. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 โดยประกาศผลสอบระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 21 เมษายน 2564 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 22 เมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ยกเลิกการดำเนินกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานในโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา “คลองเตยโมเดล” กรุงเทพมหานคร และโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการทดสอบทาบงการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ที่กำหนดให้ยกเลิกการทดสอบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัวของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ 2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประสงค์เข้ารับการทดสอบ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 63 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 214 คน คิดเป็นร้อยละ 29.44 - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 52 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 3. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 โดยมีผลคะแนนเฉลี่ยทางการทดสอบฯ ระดับสำนักงานเขต ดังนี้ 3.1 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 – วิชาภาษาไทย 45.81 – วิชาภาษาอังกฤษ 34.29 – วิชาคณิตศาสตร์ 22.90 – วิชาวิทยาศาสตร์ 35.34 3.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิชาภาษาไทย 44.93 – วิชาภาษาอังกฤษ 28.47 – วิชาคณิตศาสตร์ 19.33 – วิชาวิทยาศาสตร์ 25.66

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ยกเลิกการดำเนินกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานในโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา “คลองเตยโมเดล” กรุงเทพมหานคร และโครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการทดสอบทาบงการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ที่กำหนดให้ยกเลิกการทดสอบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัวของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ 2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีนักเรียนประสงค์เข้ารับการทดสอบ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 63 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 214 คน คิดเป็นร้อยละ 29.44 - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 52 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 3. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 มีนาคม 2564 ผลคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบฯ ระดับสำนักงานเขต ดังนี้ ผลสอบระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 – วิชาภาษาไทย 45.81 – วิชาภาษาอังกฤษ 34.29 – วิชาคณิตศาสตร์ 22.90 – วิชาวิทยาศาสตร์ 35.34 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – วิชาภาษาไทย 44.93 – วิชาภาษาอังกฤษ 28.47 – วิชาคณิตศาสตร์ 19.33 – วิชาวิทยาศาสตร์ 25.66 4. นักเรียนประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 คิดเป็นร้อยละของนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด ดังนี้ – วิชาภาษาไทย ร้อยละ 38.10 – วิชาภาษาอังกฤษ ร้อยละ 12.70 – วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ 0.00 – วิชาวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 12.70 5. ผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมาย ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 15.87

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(13) จำนวนกิจกรรมงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
จำนวนกิจกรรมงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :3.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 1 งานวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2563 เพื่อน้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตคลองเตย กิจกรรมประกอบด้วย พิธีเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พิธีถวายพานพุ่มดอกไม้ พิธีกล่าวน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และพิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ "พ่อตัวอย่าง" เขตคลองเตย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 1 งานวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตคลองเตย ภายในประกอบด้วย กิจกรรมพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ กิจกรรมถวายภัตตาหารเพลและเครื่องดื่มไทยธรรม กิจกรรมถวายพานพุ่มดอกไม้หน้า พระบรมฉายาลักษณ์ฯ และกิจกรรมมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ “พ่อตัวอย่าง” เขตคลองเตย 2. กำหนดจัดกิจกรรมที่ 2 งานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทย เนื่องในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564 ในเดือนเมษายน 2564 ณ ศูนย์เยาวชนคลองเตย 3. กำหนดจัดกิจกรรมที่ 3 งานวันเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 69 พรรษา ในเดือนกรกฎาคม 2564 ณ สำนักงานเขตคลองเตย 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. กิจกรรมที่ 1 งานวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตคลองเตย ภายในประกอบด้วย กิจกรรมพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ กิจกรรมถวายภัตตาหารเพลและเครื่องดื่มไทยธรรม กิจกรรมถวายพานพุ่มดอกไม้หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ฯ และกิจกรรมมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ “พ่อตัวอย่าง” เขตคลองเตย 2. กิจกรรมที่ 2 งานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทย เนื่องในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564 ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ห้างสรรพสินค้าโลตัส สาขาสุขุมวิท 50 ซึ่งภายในงานประกอบด้วย กิจกรรมสรงน้ำพระ กิจกรรมรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม และได้จัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายสินค้า ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมตั้งวันที่ 31 มีนาคม – 4 เมษายน 2564 4. ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. กิจกรรมที่ 1 งานวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตคลองเตย ภายในประกอบด้วย กิจกรรมพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ กิจกรรมถวายภัตตาหารเพลและเครื่องดื่มไทยธรรม กิจกรรมถวายพานพุ่มดอกไม้หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ฯ และกิจกรรมมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ “พ่อตัวอย่าง” เขตคลองเตย 2. กิจกรรมที่ 2 งานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทย เนื่องในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564 ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ห้างสรรพสินค้าโลตัส สาขาสุขุมวิท 50 ซึ่งภายในงานประกอบด้วย กิจกรรมสรงน้ำพระประจำวันเกิด กิจกรรมรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย และการจัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายสินค้า ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม – 4 เมษายน 2564 3. กิจกรรมที่ 3 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้ระบาดอย่างแพร่หลายในทุกๆ พื้นที่ จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมที่มีการรวมกลุ่มของบุคคลได้ และเพื่อเป็นการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของรัฐบาลอย่างเคร่งครัด สำนักงานเขตคลองเตยจึงได้ยกเลิกการจัดกิจกรรมงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา 69 พรรษา ภายใต้โครงการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี 4. ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 60

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(14) ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :90.16

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
90.16

0 / 0
4
90.16

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยุ่ระหว่างการขออนุมัติเงินประจำงวด 2. ติดต่อสถานที่ศึกษาดูงาน 3. ประสานวิทยากรกำหนดหลักสูตรวิชาการ 4. กำหนดศึกษาดูงานในเดือนกุมภาพันธ์ 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 2 ครั้ง 2. กำหนดการดำเนินกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในวันที่ 27 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านของพ่อ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 2 ครั้ง 2. กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดำเนินการในวันที่ 27 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านของพ่อ ตำบลภูเขาทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 45 คน ประกอบด้วย เด็กและเยาวชน จำนวน 40 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 5 คน 3. การสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสิรมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 90.16

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 2 ครั้ง 2. กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดำเนินการในวันที่ 27 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านของพ่อ ตำบลภูเขาทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 45 คน ประกอบด้วย เด็กและเยาวชน จำนวน 40 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 5 คน 3. การสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสิรมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 90.16

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๒ - เมืองแห่งนักท่องเที่ยวระดับโลก

(15) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวระดับโลก
กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. วางแผนการดำเนินกิจกรรม 2. เตรียมการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. วางแผนการดำเนินกิจกรรม 2. เตรียมการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนฯ 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมประเพณีวันลอยกระทง เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2563 ณ วัดสะพาน เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย โดยในงานได้จัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยชุมชนเพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพให้กับคนในชุมชนและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่เขคลองเตย โดยมีผู้ประกอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยคนในชุมชน จำนวน 10 ร้าน 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. กิจกรรมที่ 1 – ดำเนินการจัดกิจกรรมประเพณีวันลอยกระทง เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2563 ณ วัดสะพาน เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย โดยในงานได้จัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยชุมชนเพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพให้กับคนในชุมชนและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่เขตคลองเตย โดยมีผู้ประกอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยคนในชุมชน จำนวน 20 ร้าน ความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 85 2. กิจกรรมที่ 2 – ดำเนินการจัดกิจกรรมงานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทย เนื่องในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564 ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ลานด้านหน้าห้างสรรพสินค้าโลตัส สาขาสุขุมวิท 50 ซึ่งภายในงานได้มีกิจกรรมการสรงน้ำพระ กิจกรรมรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม และได้จัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายสินค้า มีผู้ประกอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยคนในชุมชนร่วมกับผู้ประกอบการภายในกรุงเทพมหานคร จำนวน 40 ร้าน โดยมีการจำหน่ายสินค้าตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม – 4 เมษายน 2564 ความพึงพอใจ คิดเป็น ร้อยละ 90

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. กิจกรรมที่ 1 – ดำเนินการจัดกิจกรรมประเพณีวันลอยกระทง เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2563 ณ วัดสะพาน เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย โดยในงานได้จัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยชุมชนเพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพให้กับคนในชุมชนและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่เขตคลองเตย โดยมีผู้ประกอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยคนในชุมชน จำนวน 20 ร้าน ความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 85 2. กิจกรรมที่ 2 – ดำเนินการจัดกิจกรรมงานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทย เนื่องในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564 ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ณ ลานด้านหน้าห้างสรรพสินค้าโลตัส สาขาสุขุมวิท 50 ซึ่งภายในงานได้มีกิจกรรมการสรงน้ำพระ กิจกรรมรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม และได้จัดพื้นที่สำหรับจำหน่ายสินค้า มีผู้ประกอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยคนในชุมชนร่วมกับผู้ประกอบการภายในกรุงเทพมหานคร จำนวน 40 ร้าน โดยมีการจำหน่ายสินค้าตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม – 4 เมษายน 2564 ความพึงพอใจคิดเป็น ร้อยละ 90

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(16) ร้อยละความสำเร็จงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละความสำเร็จงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามหลักเกฑ์และตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามหลักเกฑ์และตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามหลักเกฑ์และตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามหลักเกฑ์และตัวชี้วัดของโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(17) ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
[มิติที่ 1 : ]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
60.00

0 / 0
3
80.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตคลองเตยได้ดำเนินการสำรวจที่ดิน,สิ่งปลูกสร้าง และอาคารชุด ตั้งแต่วันที่ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563 เพิ่มเติม ดังนี้ 1) ที่ดิน จำนวน 1,219 แปลง 2) สิ่งปลูกสร้าง จำนวน 599 หลัง 3) สิ่งปลูกสร้างเป็นอาคารชุด จำนวน 300 ห้อง 4) ประกาศและจัดส่งข้อมูลบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพิ่มเติมให้ประชาชนตรวจ 5) ประชาชนตรวจสอบรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อขอแก้ไข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. สำนักงานเขตคลองเตยได้ดำเนินการสำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และอาคารชุดเพิ่มขึ้นจาก ปี พ.ศ. 2563 ดังนี้ 1.1 ที่ดิน จำนวน 2,410 แปลง จำนวนที่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 27.93 1.2 บ้านและอาคารพาณิชย์ จำนวน 6,117 หลัง จำนวนที่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 54.20 1.3 อาคารชุด จำนวน 3,474 ห้อง จำนวนที่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 11.64 2. ประกาศและจัดส่งข้อมูลบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 3. ประกาศราคาประเมินทุนของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง อัตราภาษีที่จัดเก็บและอื่นที่จำเป็นในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินการปิดหนังสือแจ้งการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พร้อมแบบแสดงรายการคำนวณ ณ ภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่หรือสถานที่ทำการ ตามมาตรา13 พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 2. จัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 2,889 ราย จำนวนเงิน 43,784,562.41 บาท 3. จัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 124 ราย จำนวนเงิน 18,356,496.82 บาท 4. จัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 22 ราย จำนวนเงิน 26,829.68 บาท 5. จัดเก็บภาษีป้าย จำนวน 2,742 ราย จำนวนเงิน 43,907,178.61 บาท 6. รวมทั้งสิ้นจำนวน 5,777 ราย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 106,075,067.52 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการ ดังนี้ – ดำเนินการเร่งรัดติดตามการเก็บภาษีค้างชำระ – ออกหนังสือแจ้งเตือนผู้เสียภาษีที่มีภาษีค้างชำระ (แบบ ภดส. กทม.1) – แจ้งรายการภาษีค้างชำระให้สำนักงานที่ดิน เพื่อระงับการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง หรือห้องชุด 2. ผลการดำเนินงานตั้งแต่ ตุลาคม 2563 – สิงหาคม 2564 – ดำเนินการแจ้งรายการภาษีค้างชำระให้สำนักงานที่ดิน ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 มาตรา 60 – ยอดจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 18,084 ราย จำนวนเงิน 132,543,978.00 บาท – ยอดจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 140 ราย จำนวนเงิน 18,772,344.32 บาท – จัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 30 ราย จำนวนเงิน 439,413.47 บาท – จัดเก็บภาษีป้าย จำนวน 3,021 ราย จำนวนเงิน 52,844,362.65 บาท – รวมทั้งสิ้นจำนวน 21,275 ราย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 204,600,098.44 บาท

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด