ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50380000

Home Home SED


**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

(1) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :70.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
37.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานให้สำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :70.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
37.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานให้สำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :70.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
37.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานให้สำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :70.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
37.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานให้สำเร็จตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการ ตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(5) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะของเสียสู่แหล่งน้ำ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะของเสียสู่แหล่งน้ำ

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :4.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
4.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะของเสียลงสู่แหล่งน้ำ จำนวน 1ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการครบ 4 ครั้ง - บริเวณคลองควาย - บริเวณคลองโอ่งอ่าง - บริเวณคลองแสนแสบ - บริเวณคลองบ้านป่า ดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - แนะนำการคัดแยกขยะ 4 ประเภท - แนะนำการทำน้ำหมักชีวภาพ - แนะนำการคัดแยกขยะอันตรายจากขยะทั่วไป - แนะนำการลด/งด ใช้ถุงพลาสติกและโฟม - แนะนำการคัดแยกขยะเศษอาหารนำไปเลี้ยงสัตว์ หรือหมักทำปุ๋ย - แนะนำไม่ให้ทิ้งขยะลงสู่แม่น้ำลำคลองต่างๆ และโทษของการทิ้งขยะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - แนะนำประชาชนไม่ให้ทิ้งขยะลงคลอง ช่วยอนุรักษ์คลองให้สะอาด - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนริมคลอง และดำเนินการทำความสะอาดบริเวณริมคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำกลับไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำกลับไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :136.15


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
19.53

100 / 100
3
25.00

100 / 100
4
136.15

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ดำเนินการจัดซื้อวัสดุในการสาธิตและการประชาสัมพันธ์ เพื่อนำไปใช้ในการสาธิตและการประชาสัมพันธ์โครงการฯ ในกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ เป็นเงิน 50,000.- บาท - รณรงค์ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. ให้ความรู้และแนะนำการคัดแยกขยะ 2. กิจกรรมกลุ่มของกลุ่มเป้าหมาย 3. สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพ 4. ลด/งด ใช้ถุงพลาสติก 5. สนับสนุนถังรองรับมูลฝอย 6.สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทำน้ำหมักชีวภาพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนโรงเรียนวัดใต้เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563 จำนวน 85 คน ปรับปรุงข้อมูล เป้าหมายร้อยละ30 คิดเป็น 30,074.01 ตัน/ปี คิดเป็นค่าเฉลี่ย 82.39 ตัน/วัน ปี 64 จัดเก็บได้ 19,573.54 ตัน คิดเป็นค่าเฉลี่ย 107.55 ตัน/วัน (ข้อมูล ต.ค.-มี.ค.64)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการลด การคัดแยกขยะและการจัดการขยะจากแหล่งกำเนิดในกลุ่มเป้าหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอันตราย โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1. แนะนำการคัดแยกขยะ 4 ประเภท 2. แนะนำการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้ 3. แนะนำการลด/งดใช้โฟมและถุงพลาสติก 4. แนะนำการทิ้งขยะ โควิด (หน้ากากอนามัย) ให้ถูกวิธี 6. แนะนำการคัดแยกขยะอันตรายออกจากขยะทั่วไป บริเวณชุมชนธรรมมานุรักษ์ ถนนพระรามเก้า - ดำเนินการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ดำเนินการตามโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ - ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดการขยะ 4 ประเภท - ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 63 - สิงหาคม 64 จำนวน 99.63 ตัน/วัน ค่าเป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม ปี 2560=37.75 ตัน ปี 2564=82.39 ตัน ผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตสวนหลวง ปี 2564 = 99.63 ตัน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 136.15 - ปี 64 จัดเก็บได้ 99.63 ตัน/วัน (ต.ค.63 - ส.ค.64)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(7) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำกลับไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำกลับไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :136.15

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
19.53

100 / 100
3
25.00

100 / 100
4
136.15

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ดำเนินการจัดซื้อวัสดุในการสาธิตและการประชาสัมพันธ์ เพื่อนำไปใช้ในการสาธิตและการประชาสัมพันธ์โครงการฯ ในกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ เป็นเงิน 50,000.- บาท - รณรงค์ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. ให้ความรู้และแนะนำการคัดแยกขยะ 2. กิจกรรมกลุ่มของกลุ่มเป้าหมาย 3. สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพ 4. ลด/งด ใช้ถุงพลาสติก 5. สนับสนุนถังรองรับมูลฝอย 6.สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทำน้ำหมักชีวภาพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนโรงเรียนวัดใต้เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563 จำนวน 85 คน ปรับปรุงข้อมูล เป้าหมายร้อยละ30 คิดเป็น 30,074.01 ตัน/ปี คิดเป็นค่าเฉลี่ย 82.39 ตัน/วัน ปี 64 จัดเก็บได้ 19,573.54 ตัน คิดเป็นค่าเฉลี่ย 107.55 ตัน/วัน (ข้อมูล ต.ค.-มี.ค.64)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการลด การคัดแยกขยะและการจัดการขยะจากแหล่งกำเนิดในกลุ่มเป้าหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอันตราย โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1. แนะนำการคัดแยกขยะ 4 ประเภท 2. แนะนำการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้ 3. แนะนำการลด/งดใช้โฟมและถุงพลาสติก 4. แนะนำการทิ้งขยะ โควิด (หน้ากากอนามัย) ให้ถูกวิธี 6. แนะนำการคัดแยกขยะอันตรายออกจากขยะทั่วไป บริเวณชุมชนธรรมมานุรักษ์ ถนนพระรามเก้า - ดำเนินการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ดำเนินการตามโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการแปรรูปมูลฝอยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ - ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การจัดการขยะ 4 ประเภท - ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 63 - สิงหาคม 64 จำนวน 99.63 ตัน/วัน ค่าเป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม ปี 2560=37.75 ตัน ปี 2564=82.39 ตัน ผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตสวนหลวง ปี 2564 = 99.63 ตัน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 136.15 - ปี 64 จัดเก็บได้ 99.63 ตัน/วัน (ต.ค.63 - ส.ค.64)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(8) ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่ประจำจุดเสี่ยงภัย วันละ 3 ครั้ง/จุด/วัน และตรวจตู้เขียวของเทศกิจในพื้นที่เขตสวนหลวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจจุดเสี่ยงภัย - ติดตั้งตู้เขียวในบริเวณจุดเสี่ยงภัย - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) ทั้งกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/ วัน/จุด จำนวน 5 จุด ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV และตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวัน ไม่พบปัญหาแต่อย่างใด - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอำนวยความสะดวกด้านการจราจร บริเวณหน้าโรงเรียนที่มีปัญหาการจราจรในพื้นที่เขตสวนหลวง วันละ 2 รอบ (เช้า-บ่าย)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) ทั้งกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/ วัน/จุด จำนวน 5 จุด ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV และตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวัน ไม่พบปัญหาแต่อย่างใด - เดือนเมษายน 2564 จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียนที่มีการสอบปลายภาคในพื้นที่เขต เพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการจราจร ตลอดจนดูแลความปลอดภัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนที่ใช้เส้นทางสัญจร - เดือนพฤษภาคม 2564 โรงเรียนปิดภาคเรียน - เดือนมิถุนายน ขณะนี้โรงเรียนใช้วิธีการเรียนแบบออนไลน์ที่บ้าน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) ทั้งกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/ วัน/จุด จำนวน 5 จุด ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV และตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวัน ไม่พบปัญหาแต่อย่างใด เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2564: ตามมาตรการป้องกันโควิด-19 โรงเรียนเปิดทำการสอนทางระบบออนไลน์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(9) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำแผนการดำเนินงานตามโครงการอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในพื้นที่เขตสวนหลวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กิจกรรมครั้งที่ 1 จัดในเดือน พฤษภาคม 2564 กิจกรรมครั้งที่จัดในวันที่ 26 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(10) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำแผนการดำเนินงานตามโครงการอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมของอาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในพื้นที่เขตสวนหลวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กิจกรรมครั้งที่ 1 จัดในเดือน พฤษภาคม 2564 กิจกรรมครั้งที่จัดในวันที่ 26 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(11) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 1) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 1) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
53.33

100 / 100
3
95.24

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและจัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ -จัดทำแผนปฏิบัติงานฯ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน -ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานโครงการกรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย โดยตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารของร้านอาหารในพื้นที่เขตสวนหลวงเป็นประจำทุกวัน -ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ตลาด ซุปเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหาร ปลอดภัย ผลการดำเนินการปรากฏดังนี้ 1. ร้านอาหาร 224 แห่ง ได้รับป้ายฯ 129 แห่ง 2. ตลาด 14 แห่ง ได้รับป้ายฯ 6 แห่ง 3. ซุปเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง ได้รับป้ายฯ 2 แห่ง 4. มินิมาร์ท 101 แห่ง ได้รับป้ายฯ 47 แห่ง รวมจำนวนสถานประกอบการอาหาร 345 แห่ง จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายฯ 184 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 53.33 (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ตลาด ซุปเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ผลการดำเนินงานปรากฏดังนี้ 1. ร้านอาหาร 219 แห่ง ได้รับป้ายฯ 218 แห่ง 2. ตลาด 15 แห่ง ได้รับป้ายฯ 15 แห่ง 3. ซูเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง ได้รับป้ายฯ 6 แห่ง 4. มินิมาร์ท 96 แห่ง ได้รับป้ายฯ 81 แห่ง รวมจำนวนสถานประกอบการอาหาร 336 แห่ง จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายฯ 320 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95.24 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ตลาด ซุปเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ผลการดำเนินงานปรากฏดังนี้ 1. ร้านอาหาร 218 แห่ง ได้รับป้ายฯ 218 แห่ง 2. ตลาด 15 แห่ง ได้รับป้ายฯ 15 แห่ง 3. ซุปเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง ได้รับป้ายฯ 6 แห่ง 4. มินิมาร์ท 95 แห่ง ได้รับป้าย 95 แห่ง รวมสถานประกอบการอาหาร 334 แห่ง จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายฯ 334 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล ณ วันที่ 13 กันยายน 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 2) ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย 2) ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :48.50


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
14.78

100 / 100
3
44.05

100 / 100
4
48.50

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและจัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ -จัดทำแผนปฏิบัติงานฯ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน -ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานโครงการกรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย โดยตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารของร้านอาหารในพื้นที่เขตสวนหลวงเป็นประจำทุกวัน -ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 5

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปรับปรุงข้อมูล ตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยและการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินการปรากฎ ดังนี้ 1. ร้านอาหาร 224 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ 129 แห่ง มี Green Sevice 1 แห่ง 2. ตลาด 14 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ 6 แห่ง มี Green Sevice 1 แห่ง 3. ซูเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ 2 แห่ง มี Green Sevice 2 แห่ง 4. มินิมาร์ท 101 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ 47 แห่ง มี Green Sevice 47 แห่ง - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 345 แห่ง และจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 184 แห่ง สามารถจัดให้มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Sevice) จำนวน 51 แห่งคิดเป็นร้อยละ 14.78 (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ผลการดำเนินการปรากฏดังนี้ 1. ร้านอาหาร 219 แห่ง มี Green Service 60 แห่ง 2. ตลาด 15 แห่ง มี Green Service 1 แห่ง 3. ซูเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง มี Green Service 6 แห่ง 4. มินิมาร์ท 96 แห่ง มี Green Service 81 แห่ง รวมจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 336 แห่ง สามารถจัดให้มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 148 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.05 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ผลการดำเนินการปรากฏดังนี้ 1. ร้านอาหาร 218 แห่ง มี Green Service 60 แห่ง 2. ตลาด 15 แห่ง มี Green Service 1 แห่ง 3. ซูเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง มี Green Service 6 แห่ง 4. มินิมาร์ท 95 แห่ง มี Green Service 95 แห่ง รวมจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 334 แห่ง สามารถจัดให้มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 162 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 48.50 (ข้อมูล ณ วันที่ 13 กันยายน 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(13) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :4.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่ตลอดแนวคลองตามความรับผิดชอบของเขต จำนวน 4 คลอง คือ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด 2. รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการคัดแยกขยะการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 4. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 5. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น 6. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุด Check-in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือนและป้ายประดับต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- คลองแสนแสบ (90 %) ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. ให้ความรู้ด้านการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันแก่สถานประกอบการในพื้นที่ 3. พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวริมฝั่งคลอง และซ่อมแซมทางเดินเลียบคลอง 4. ติดตั้งโคมไปถนนโซล่าเซลล์ จำนวน 8 ดวง เพื่อเสริมสร้าวความปลอดภัย 5. สร้างจุด CHECK-IN - คลองพระโขนง 40% ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. ให้ความรู้ด้านการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันแก่สถานประกอบการในพื้นที่ 3. สำรวจตรวจสอบและซ่อมแซมสะพาน ปรับปรุงภูมิทัศน์ ทาสี - คลองเคล็ด 40% ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. สำรวจตรวจสอบเพื่อซ่อมแซมสะพาน ปรับปรุงภูมิทัศน์ ทาสี - คลองตัน 50% ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. ให้ความรู้ด้านการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันแก่สถานประกอบการในพื้นที่ 3. พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ทำความสะอาดทางเดินเลียบคลอง 4. สร้างจุด CHECK-IN ความสำเร็จ ร้อยละ 52.50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการตัดแต่งกิ่งไม้ ทำความสะอาดทางเท้าริมคลอง ตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ 2. ทำความสะอาดเก็บขยะในคลองและริมคลอง 3. ทำจุด Check in คลองแสนแสบดำเนินการแล้วเสร็จ 100% 4. ทำจุด Check in คลองตัน 5. ทาสีสะพานข้ามคลองพระโขนง 6. ตัดแต่งกิ่งไม้ในคลองตัน 7.. ตัดแต่งกิ่งไม้และทำความสะอาดคลองเคล็ดเดือนละ 2 ครั้ง 8. คลองแสนแสบดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ความสำเร็จ ร้อยละ 74.00

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(14) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
72.50

100 / 100
3
87.50

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบของเขตสวนหลวง -นำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 (ต.ค - ธ.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดซื้อจัดจ้างเรียบร้อยและเตรียมพื้นที่เพื่อดำเนินการปลูกไม้ประดับและซ่อมแซมคอกต้นไม้บริเวณทางเท้า ในพื้นที่เขตสวนหลวง - ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้ตามเป้าหมาย จำนวน 2 แห่ง คือหมู่บ้านพฤกษาวิลล์ 73 พื้นที่ 2,774 ตารางเมตร หมู่บ้านพฤกษาวิลล์ 57 พื้นที่ 2,592.80 ตารางเมตร (3 ไร่ 1 งาน 41.70 ตรว.) และรายงานลงในระบบฐานข้อมูลฯ เรียบร้อยแล้ว - ดำเนินการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 6 แห่ง และบันทึกลงในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้ง ( ธ.ค. 63 , มี.ค 64)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- พื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ดำเนินการแล้วเสร็จ ร้อยละ 100 - พื้นที่สีเขียว 9 ประเภท ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพิ่มเติม และบันทึกข้อมูลในระบบการจัดการฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียว จำนวน 3 แห่ง คือ 1. สวนกล้วยปากทางเข้าโรงพยาบาลสมิติเวช ถนนศรีนครินทร์ 2. ที่ว่างปากซอยอ่อนนุช 17 แยก 9 3. ที่ว่างปากซอยศรีนคินทร์ 11

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(15) อาคารสำนักงานเขตสวนหลวงได้รับการจัดสาธารณูปโภคสำหรับผู้สูงอายุ และคนพิการอย่างทั่วถึง
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ ผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถใช้ชีวิตได้สะดวก
อาคารสำนักงานเขตสวนหลวงได้รับการจัดสาธารณูปโภคสำหรับผู้สูงอายุ และคนพิการอย่างทั่วถึง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :50.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
50.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสำรวจอาคารสำนักงานเขตสวนหลวงที่ปรับปรุง และอยู่ระหว่างจัดทำร่างขอบเขต TOR เพื่อดำเนินการปรับปรุงอาคารสำนักงานเขตต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการตามขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่าดำเนินการเซ็นสัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครมีพัฒนาการสมวัย
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครมีพัฒนาการสมวัย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :40.00

ผลงาน :60.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำแผนการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ทำหนังสือประสานศูนย์บริการสาธารณสุข 37 2. มอบหมายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีสังเกตพัฒนาการของเด็กตามแนวทาง DSPM 3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการพัฒนาการเด็กฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดซื้อวัสดุและส่งมอบให้ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนเรียบร้อยแล้ว - จัดการเรียนการสอนออนไลน์ มีคลิปการสอนส่งให้ผู้ปกครองทางกลุ่มไลน์และมอบหมายงานให้ผู้ปกครองรับไปให้เด็กทำที่บ้าน - ผู้ปกครองรับอาหารกลางวันของเด็กทีศูนย์ฯ เพื่อให้เด็กบริโภคอาหารครบ5หมู่ (ดำเนินการได้ไม่ครบทุกศูนย์ เนืองจากสถานการณ์โควิด-19)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(17) ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครมีพัฒนาการสมวัย
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครมีพัฒนาการสมวัย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :40.00

ผลงาน :60.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำแผนการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ทำหนังสือประสานศูนย์บริการสาธารณสุข 37 2. มอบหมายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีสังเกตพัฒนาการของเด็กตามแนวทาง DSPM 3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการพัฒนาการเด็กฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดซื้อวัสดุและส่งมอบให้ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนเรียบร้อยแล้ว - จัดการเรียนการสอนออนไลน์ มีคลิปการสอนส่งให้ผู้ปกครองทางกลุ่มไลน์และมอบหมายงานให้ผู้ปกครองรับไปให้เด็กทำที่บ้าน - ผู้ปกครองรับอาหารกลางวันของเด็กทีศูนย์ฯ เพื่อให้เด็กบริโภคอาหารครบ5หมู่ (ดำเนินการได้ไม่ครบทุกศูนย์ เนืองจากสถานการณ์โควิด-19)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(18) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ยกเลิกการทดสอบ O-NET ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ยกเลิกการทดสอบ O-NET ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ยกเลิกการทดสอบ O-NET ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(19) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ยกเลิกการทดสอบ O-NET ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ยกเลิกการทดสอบ O-NET ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ยกเลิกการทดสอบ O-NET ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม

(20) ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :70.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
45.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ ประจำเดือนตุลาคม 2563 จำนวน 19 ราย 849 หลัง การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 12 ราย 604 หลัง การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ ประจำเดือนธันวาคม 2563 จำนวน 15 ราย 15 หลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ ในแต่ละเดือน ออกรหัสประจำบ้าน ประจำเดือนตุลาคม 63 จำนวน 12 ราย 604 หลัง ประจำเดือนพฤศจิกายน 63 จำนวน 15 ราย 15 หลัง ประจำเดือนธันวาคม 63 จำนวน 21 ราย 44 หลัง ประจำเดือนมกราคม 64 จำนวน 13 ราย 17 หลัง ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 64 จำนวน 19 ราย 23 หลัง อนุญาตให้มีการก่อสร้าง ประจำเดือนตุลาคม 63 จำนวน 27 ราย ประจำเดือนพฤศจิกายน 63 จำนวน 13 ราย ประจำเดือนธันวาคม 63 จำนวน 18 ราย ประจำเดือนมกราคม 64 จำนวน 24 ราย ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 64 จำนวน 39 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ ประจำเดือน มีนาคม จำนวน 19 ราย 35 หลัง ประจำเดือน เมษายน จำนวน 13 ราย 13 หลัง ประจำเดือน พฤษภาคม จำนวน 3 ราย 3 หลัง อนุญาตให้มีการก่อสร้าง ประจำเดือน เมษายน จำนวน 30 ราย ประจำเดือน พฤษภาคม จำนวน 23 ราย ประจำเดือน มิถุนายน จำนวน 35 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(21) จำนวนเครือข่ายประชาคม ที่เป็นทางการเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ และติดตามตรวจสอบการทำงานของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
จำนวนเครือข่ายประชาคม ที่เป็นทางการเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ และติดตามตรวจสอบการทำงานของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :เครือข่าย

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เครือข่าย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำแผนและโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดเครือข่ายสภาเยาวชนเขตสวนหลวง จำนวน 1 เครือข่าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จ้างอาสาสมัครช่วยงานสภาเด็กและเยาวชน - จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 2 ครั้ง - จัดการประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตสวนหลวง จำนวน 1 ครั้ง เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตสวนหลวงมีพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็น การตอบรับข้อเสนออย่างเป็นรูปธรรม มีแนวทางในการพัฒนา การกำหนดนโยบายการพัฒนาเขตและการทำกิจกรรมร่วมกัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีเครือข่ายประชาคม 1 เครื่อข่าย คือ เครือข่ายประชาคมคนรักคลองตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(22) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :6.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.00

100 / 100
2
5.00

100 / 100
3
6.00

100 / 100
4
6.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 17-31 ตุลาคม 2563 สำนักงานเขตร่วมกันสภาวัฒนธรรม จัดกิจกรรมวันลอยกระทง ออกร้านจำหน่ายสินค้าชุมชน ของดีเขต และสินค้าราคาถูก ครั้งที่ 2 วันที่ 4 ธันวาคม 2563 กิจกรรมงานวันพ่อแห่งชาติ ณ สำนักงานเขตสวนหลวง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ 350 คน ครั้งที่ 3 วันที่ 5-6 ธันวาคม 2563 กิจกรรมงานตลาดน้ำชุมชน ณ ชุมชนคลองจวน ซอยอ่อนนุช 39 เขตสวนหลวง มีกิจกรรมการแข่งเรือ การร้องเพลง การจำหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน มีผู้เข้างาน ประมาณ 100 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชนเจริญพัฒนาถาวร โดยต่อยอดจากโครงการสวนหลวงร่วมใจรักษ์ พิทักษ์คลองบางโคล่จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 26 ธันวาคม 2563 กิจกรรมเดิน ชิวๆ ชมวิว คลองบางโคล่ เดินชมสตรีทอาร์ต มีการแสดงดนตรีสด และจัดจำหน่ายสินค้าจากคนในชุมชน เพื่อหารายได้มอบให้แก่มัสยิดอันวารุ้ลอับร็อด ครั้งที่ 2 28 มีนาคม 2564 กิจกรรมคืนคลองให้สองฝั่ง กิจกรรมสร้างจิตสำนึกรักและหวงแหนคูคลอง จำหน่ายอาหารและสินค้าของชุมชน มอบเหรียญทองให้กับบุคคลที่ร่วมเก็บขยะในคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

วันที่ 12 เมษายน 2564 กิจกรรมงานสืบสานวัฒนธรรมไทยประเพณีสงกรานต์ เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ถึงความหมายความสำคัญของวันสงกรานต์ วันครอบครัว และคุณค่า ของประเพณีสงกรานต์ แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่-ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็วในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงได้ปรับการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์และเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคด้วย โดยได้จัดกิจกรรมร่วมกับวัดปากบ่อ จัดให้มีการสรงน้ำพระพุทธรูป ถวายอาหารพระบวชใหม่ มอบผ้าขนหนูให้กับผู้สูงอายุ ซึ่งในกิจกรรมดังกล่าว งดการรับประทานอาหารร่วมกัน ตามมาตรการควบคุมโรค

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมให้ครบตามเป้าหมายของโครงการได้อีก 2 กิจกรรม คือกิจกรรมแห่เทียนเข้าพรรษา และกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล

(23) ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด
[มิติที่ 1 : ]

๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล
ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :99.55

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.03

100 / 100
2
99.45

100 / 100
3
99.55

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลสำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด จำนวน 752 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.03

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ผลสำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ในแต่ละเดือน 1. ตุลาคม 2563 จำนวน 774 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.21 2. พฤศจิกายน 2563 จำนวน 2,029 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.55 3. ธันวาคม 2563 จำนวน 1,637 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.41 4. มกราคม 2564 จำนวน 1,557 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.73 5. กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 1,428 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.73

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลสำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ในแต่ละเดือน - มีนาคม จำนวน 1428 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.73 - เมษายน 2564 จำนวน 1933 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.79 - พฤษภาคม 2564 จำนวน 1862 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.68 - มิถุนายน 2564 จำนวน 1636 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.03

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(24) ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด
[มิติที่ 1 : ]

๗.๓.๑ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสม
ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :99.55


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.03

100 / 100
2
99.45

100 / 100
3
99.55

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลสำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด จำนวน 752 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.03

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ผลสำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ในแต่ละเดือน 1. ตุลาคม 2563 จำนวน 774 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.21 2. พฤศจิกายน 2563 จำนวน 2,029 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.55 3. ธันวาคม 2563 จำนวน 1,637 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.41 4. มกราคม 2564 จำนวน 1,557 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.73 5. กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 1,428 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.73

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลสำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ในแต่ละเดือน - มีนาคม จำนวน 1428 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.73 - เมษายน 2564 จำนวน 1933 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.79 - พฤษภาคม 2564 จำนวน 1862 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.68 - มิถุนายน 2564 จำนวน 1636 คน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 99.03

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(25) ร้อยละของการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ของประมาณการ)
[มิติที่ 1 : ]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ร้อยละของการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ของประมาณการ)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :37.87

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
20.00

100 / 100
3
37.87

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด เพื่อเตรียมประกาศ ภดส.3 และ ภดส.4 ประจำปี 2564 2. เร่งรัดจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย ประจำปีงบประมาณ 2564 3.ผลการจัดเก็บ - ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ยอดจัดเก็บ 504 ราย เป็นเงิน 1,344,071.17 บาท - ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ยอดประเมิน 66 ราย เป็นเงิน 3,748,359.11 บาท ยอดจัดเก็บ 46 ราย เป็นเงิน 1,876,448.36 บาท - ภาษีบำรุงท้องที่ ยอดประเมิน 184 ราย เป็นเงิน 375,976.50 บาท ยอดจัดเก็บ 583 ราย เป็นเงิน 533,199.94 บาท - ภาษีป้าย ยอดประเมิน 60 ราย เป็นเงิน 285,651.00 บาท ยอดจัดเก็บ 79 ราย เป็นเงิน 354,692.65 บาท อยู่ระหว่างรอสำนักการคลัง กำหนดเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กรุงเทพมหานครได้ประกาศขยายกำหนดเวลาตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 เป็นการทั่วไปอีก 2 เดือน คือ 1.ขยายเวลาจัดส่งข้อมูลให้ผู้เสียภาษีทราบเฉพาะรายที่สำรวจเพิ่มและกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ จากเดือน พฤศจิกายน 2563 เป็นเดือนมกราคม 2564 ซึ่งสำนักงานเขตสวนหลวงได้จัดส่งเรียบร้อย 2. ขยายเวลาแจ้งการประเมินภาษีโดยส่งแบบประเมินภาษีจากภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เป็นภายในเมษายน 2564 ซึ่งขณะนี้กำลังดำเนินการเตรียมจัดส่งให้กับผู้เสียภาษี 3. ขยายเวลาการรับชำระเงินจาก ภายในเดือนเมษายน 2564 เป็น ภายในเดือนมิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กำลังดำเนินการ 1. รับคำร้องคัดค้านการประเมินภาษีหรือการเรียกเก็บภาษีและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.10) ประจำปี 2564 2. เร่งรัดจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย ประจำปีงบประมาณ 2564 3.ผลการจัดเก็บ ข้อมูล 1ต.ค.63 - 31พ.ค.64 - ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ยอดประมาณการ 100,000,000 บาท ยอดประเมิน 29,843 ราย เป็นเงิน 28,912,700.98 บาท ยอดจัดเก็บ 14,070 ราย เป็นเงิน 13,829,335.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 13.83 - ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ประมาณการ 12,000,000 บาท ยอดประเมิน 196 ราย เป็นเงิน 17,561,345.80 บาท ยอดจัดเก็บ 232 ราย เป็นเงิน 14,703,569.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 122.53 - ภาษีบำรุงท้องที่ ประมาณการ 400,000 บาท ยอดประเมิน 210 ราย เป็นเงิน 419,766.10 บาท ยอดจัดเก็บ 667 ราย เป็นเงิน 605,166.24 บาท คิดเป็นร้อยละ 151.29 - ภาษีป้าย ประมาณการ 25,500,000 บาท ยอดประเมิน 1,128 ราย เป็นเงิน 22,914,410.00 บาท ยอดจัดเก็บ 1,726 ราย เป็นเงิน 21,999,069.28 บาท คิดเป็นร้อยละ 86.27

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด