ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 50380000

Home Home SED


**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

(1) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :80.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
80.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 5 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 40 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :80.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
80.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 5 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 40 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :80.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
80.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 5 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 40 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :80.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
80.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และขออนุมัติเงินประจำงวด และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 5 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 40 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ในแต่ละโครงการ มีโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 10 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 27 โครงการ และยกเลิกโครงการ 6 โครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(5) ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำรวจและรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด และจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 1 ฐานข้อมูล ประกอบด้วยสถานประกอบการ จำนวน 120 แห่ง ดำเนินการแล้วเสร็จ คิดเป็นร้อยละ 80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำรวจแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตสวนหลวงตามกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 120 แห่ง เพื่อเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล -อยู่ระหว่างการจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้สำนักการระบายน้ำภายในเดือนมิถุนายน 2563 -มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.สำรวจแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตสวนหลวงตามกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 120 แห่ง เพื่อเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล 2.สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจและรายงานผลข้อมูลที่สำนักการระบายน้ำกำหนดให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ และจัดส่งให้สำนักการระบายน้ำภายในวันที่ 11 สิงหาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว 3. มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(6) การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด -ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
-ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :78.41


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.34

100 / 100
2
5.00

100 / 100
3
13.00

100 / 100
4
78.41

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 มีจำนวน 11.22 ตัน/วัน คิดเป็น ร้อยละ 3.34

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 มีจำนวน 16.82ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 5

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 มีจำนวน 43.73 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 13

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิด ผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตสวนหลวง ปี 2563 เท่ากับ 75.27 ตัน/วัน ปี 2560 เท่ากับ 42.19 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 33.08 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 78.41

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(7) การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด -ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
-ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :78.41

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.34

100 / 100
2
5.00

100 / 100
3
13.00

100 / 100
4
78.41

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 มีจำนวน 11.22 ตัน/วัน คิดเป็น ร้อยละ 3.34

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 มีจำนวน 16.82ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 5

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 มีจำนวน 43.73 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 13

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิด ผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตสวนหลวง ปี 2563 เท่ากับ 75.27 ตัน/วัน ปี 2560 เท่ากับ 42.19 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 33.08 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 78.41

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(8) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :15.90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.35

100 / 100
2
5.04

100 / 100
3
8.52

100 / 100
4
15.90

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 3.92 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 2.35

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 8.4 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 5.04

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 14.2 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 8.52

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด ผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตสวนหลวง ปี 2563 เท่ากับ 24.56 ตัน/วัน ปี 2560 เท่ากับ 21.19 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 3.37 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 15.90

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(9) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :15.90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.35

100 / 100
2
5.04

100 / 100
3
8.52

100 / 100
4
15.90

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 3.92 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 2.35

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 8.4 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 5.04

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 14.2 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 8.52

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด ผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตสวนหลวง ปี 2563 เท่ากับ 24.56 ตัน/วัน ปี 2560 เท่ากับ 21.19 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 เท่ากับ 3.37 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 15.90

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(10) พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-มีการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย มีการจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 13 จุดเสี่ยงภัย มีการตรวจตรา 3 ครั้ง/วัน/จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.จัดทำแผนปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ดังนี้ -ฝ.รักษาฯ ดำเนินการและประสานหน่วยงานที่มีอำนาจในการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ -ฝ.โยธา ดำเนินการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง โดยแจ้งให้การไฟฟฟ้านครหลวงดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสำรวจกล้องวงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ และแจ้งชำรุดให้สำนักการจราจรและขนส่งดำเนินการต่อไป -ฝ.เทศกิจดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม 2.การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ดำเนินการดังนี้ -มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย จุดเสี่ยงภัย 13 จุด มีการตรวจตรา 3 ครั้ง/วัน/จุด 3.รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นรายเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.จัดทำแผนปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ดังนี้ -ฝ.รักษาฯ ดำเนินการและประสานหน่วยงานที่มีอำนาจในการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ -ฝ.โยธา ดำเนินการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง โดยแจ้งให้การไฟฟฟ้านครหลวงดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสำรวจกล้องวงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ และแจ้งชำรุดให้สำนักการจราจรและขนส่งดำเนินการต่อไป -ฝ.เทศกิจดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม 2.การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ดำเนินการดังนี้ -มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย จุดเสี่ยงภัย 13 จุด มีการตรวจตรา 3 ครั้ง/วัน/จุด 3.รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นรายเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.จัดทำแผนปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ดังนี้ -ฝ.รักษาฯ ดำเนินการและประสานหน่วยงานที่มีอำนาจในการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ -ฝ.โยธา ดำเนินการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง โดยแจ้งให้การไฟฟฟ้านครหลวงดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสำรวจกล้องวงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ และแจ้งชำรุดให้สำนักการจราจรและขนส่งดำเนินการต่อไป -ฝ.เทศกิจดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม 2.การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ดำเนินการดังนี้ -มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย จุดเสี่ยงภัย 13 จุด มีการตรวจตรา 3 ครั้ง/วัน/จุด 3.รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นรายเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนปฏิบัติงานในพื้นที่
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนปฏิบัติงานในพื้นที่

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 จำนวน 120 คน จากจำนวนอาสาสมัครฯ ทั้งหมด 241 คน คิดเป็นร้อยละ 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - มิถุนายน 2563 จำนวน 120 คน จากจำนวนอาสาสมัครฯ ทั้งหมด 241 คน คิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 จำนวน 120 คน จากจำนวนอาสาสมัครฯ ทั้งหมด 241 คน คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(12) ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนปฏิบัติงานในพื้นที่
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนปฏิบัติงานในพื้นที่

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 จำนวน 120 คน จากจำนวนอาสาสมัครฯ ทั้งหมด 241 คน คิดเป็นร้อยละ 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - มิถุนายน 2563 จำนวน 120 คน จากจำนวนอาสาสมัครฯ ทั้งหมด 241 คน คิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อาสาสมัครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 จำนวน 120 คน จากจำนวนอาสาสมัครฯ ทั้งหมด 241 คน คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ

(13) จำนวนครั้งของการดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
จำนวนครั้งของการดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

หน่วยนับ :ครั้ง/ปี

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :4.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
3.00

100 / 100
4
4.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานอื่น จำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันที่ 7 พ.ย.62 ณ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ และครั้งที่ 2 วันที่ 20 ธ.ค.62 ณ ศูนย์การค้าเดอะไนน์ เซ็นเตอร์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับ อปพร. และหน่วยงานอื่น ในการเป็นวิทยากรฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและการดับเพลิงเบื้องต้นประจำปี พ.ศ.2563 (ต.ค.62-มี.ค.63) จำนวน 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันที่ 7 พ.ย.62 ณ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ และครั้งที่ 2 วันที่ 20 ธ.ค.62 ณ ศูนย์การค้าเดอะไนน์ เซ็นเตอร์ ครั้งที่ 3 วันที่ 10 ม.ค.63 ณ โรงเรียนสวนรัฐวิทยา ซอยพัฒนาการ 20 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับ อปพร. และหน่วยงานอื่น ในการเป็นวิทยากรฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและการดับเพลิงเบื้องต้นประจำปี พ.ศ.2563 (ต.ค.62-มิ.ย.63) จำนวน 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันที่ 7 พ.ย.62 ณ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ และครั้งที่ 2 วันที่ 20 ธ.ค.62 ณ ศูนย์การค้าเดอะไนน์ เซ็นเตอร์ ครั้งที่ 3 วันที่ 10 ม.ค.63 ณ โรงเรียนสวนรัฐวิทยา ซอยพัฒนาการ 20 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับ อปพร. และหน่วยงานอื่น ในการเป็นวิทยากรฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและการดับเพลิงเบื้องต้นประจำปี พ.ศ.2563 (ต.ค.62-มิ.ย.63) จำนวน 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันที่ 7 พ.ย.62 ณ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ และครั้งที่ 2 วันที่ 20 ธ.ค.62 ณ ศูนย์การค้าเดอะไนน์ เซ็นเตอร์ ครั้งที่ 3 วันที่ 10 ม.ค.63 ณ โรงเรียนสวนรัฐวิทยา ซอยพัฒนาการ 20 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. และครั้งที่ 4 วันที่ 30 กันยายน 2563 ณ สำนักงานเขตสวนหลวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
13.68

100 / 100
2
84.17

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 141 แห่ง ดำเนินการไปแล้ว คิดเป็น ร้อยละ 13.68

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการไปแล้ว 110 ซอย ความยาว 83,700 เมตร คิดเป็น ร้อยละ 84.17

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการเรียบร้อยทั้ง 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการเรียบร้อยทั้ง 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(15) ร้อยละความสำเร็จในการเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่เขต
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ร้อยละความสำเร็จในการเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่เขต

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.65

100 / 100
2
79.25

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-วิเคราะห์และประเมินผลการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา -สำรวจความพร้อมของท่อระบายน้ำ คู คลอง ที่ต้องล้างทำความสะอาด และที่ต้องขุดลอก -จัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ประจำปี 2563 -จัดกิจกรรมรณรงค์ไม่ทิ้งขยะลงในคูคลอง จำนวน 1 ครั้ง ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 25.65

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-มีการประเมินผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 -สำรวจความพร้อมของท่อระบายน้ำที่ต้องล้างทำความสะอาด จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร และ คู คลอง ที่ต้องขุดลอกและเปิดทางน้ำไหล จำนวน 27 คลอง ความยาว 26,120 เมตร -จัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ประจำปี 2563 -ทำความสะอาด/ลอกท่อ โดยใช้แรงงานเขต จำนวน 77 ซอย ความยาว 44,947 เมตร ดำเนินการไปแล้ว 65 ซอย ความยาว 34,000 เมตร และโดยการจ้างเหมาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ.2563 จำนวน 50 ซอย ความยาว 54,495 เมตร ดำเนินการได้ 45 ซอย ความยาว 49,700 เมตร รวมผลงานทั้งหมด 110 ซอย ความยาว 83,700 เมตร คิดเป็นร้อยละ 84.17 -ดำเนินการขุดลอกคู คลองฯ โดยใช้แรงงานเขต จำนวน 27 คลอง ความยาว 26,120 เมตร ดำเนินการได้ 20,700 เมตร คิดเป็นร้อยละ 79.25 -จัดกิจกรรมรณรงค์ไม่ทิ้งขยะลงในคูคลอง จำนวน 1 ครั้ง/เดือน ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือน ต.ค.62-มี.ค.63 จำนวน 6 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ต.ค.62 ณ บริเวณคลองสะแก ครั้งที่ 2 วันที่ 21 พ.ย.62 ณ บริเวณคลองบ้านป่า ครั้งที่ 3 วันที่ 19 ธ.ค.62 ณ บริเวณคลองจวน ครั้งที่ 4 วันที่ 16 ม.ค.63 ณ บริเวณคลองพระโขนงเก่า ครั้งที่ 5 วันที่ 20 ก.พ.63 ณ บริเวณคลองแสนแสบ และครั้งที่ 6 วันที่ 19 มี.ค.63 ณ บริเวณคลองสุเหร่าใหม่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร คิดเป็นร้อยละ 100 -จัดกิจกรรมรณรงค์ไม่ทิ้งขยะลงในคูคลอง จำนวน 1 ครั้ง/เดือน ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือน ต.ค.62-มิ.ย.63 จำนวน 9 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ต.ค.62 ณ บริเวณคลองสะแก ครั้งที่ 2 วันที่ 21 พ.ย.62 ณ บริเวณคลองบ้านป่า ครั้งที่ 3 วันที่ 19 ธ.ค.62 ณ บริเวณคลองจวน ครั้งที่ 4 วันที่ 16 ม.ค.63 ณ บริเวณคลองพระโขนงเก่า ครั้งที่ 5 วันที่ 20 ก.พ.63 ณ บริเวณคลองแสนแสบ ครั้งที่ 6 วันที่ 19 มี.ค.63 ณ บริเวณคลองสุเหร่าใหม่ ครั้งที่ 7 วันที่ 23 เม.ย.63 ณ คลองเจ็ดขนัด ครั้งที่ 8 วันที่ 21 พ.ค.63 ณ คลองบึงบ้านม้า และครั้งที่ 9 วันที่ 18 มิ.ย.63 ณ คลองประเวศบุรีรมย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร คิดเป็นร้อยละ 100 -จัดกิจกรรมรณรงค์ไม่ทิ้งขยะลงในคูคลอง จำนวน 1 ครั้ง/เดือน ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือน ต.ค.62-ก.ย.63 จำนวน 9 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ต.ค.62 ณ บริเวณคลองสะแก ครั้งที่ 2 วันที่ 21 พ.ย.62 ณ บริเวณคลองบ้านป่า ครั้งที่ 3 วันที่ 19 ธ.ค.62 ณ บริเวณคลองจวน ครั้งที่ 4 วันที่ 16 ม.ค.63 ณ บริเวณคลองพระโขนงเก่า ครั้งที่ 5 วันที่ 20 ก.พ.63 ณ บริเวณคลองแสนแสบ ครั้งที่ 6 วันที่ 19 มี.ค.63 ณ บริเวณคลองสุเหร่าใหม่ ครั้งที่ 7 วันที่ 23 เม.ย.63 ณ คลองเจ็ดขนัด ครั้งที่ 8 วันที่ 21 พ.ค.63 ณ คลองบึงบ้านม้า และครั้งที่ 9 วันที่ 18 มิ.ย.63 ณ คลองประเวศบุรีรมย์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - สิ่งก่อสร้างปลอดภัย

(16) ร้อยละของความสำเร็จในการปรับปรุงถนน ทางเท้า สะพาน อุโมงค์ และท่อระบายน้ำ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑ กรุงเทพมหานครมีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ ปลอดจากอุบัติภัยจาก สิ่งปลูกส
ร้อยละของความสำเร็จในการปรับปรุงถนน ทางเท้า สะพาน อุโมงค์ และท่อระบายน้ำ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
25.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินประจำงวดเพื่อดำเนินการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 2 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 2 โครงการ ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาตัวผู้รับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 25 ู

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 2 โครงการ ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว 1 โครงการ คือ โครงการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองเจ็ดขนัดถึงบริเวณบ้านเลขที่ 35/14 และอยู่ระหว่างดำเนินการ 1 โครงการ คือ โครงการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองบึงบ้านม้าบริเวณถนนศรีนครินทร์ถึงซอยพัฒนาการ58 คิดเป็นร้อยละ 40

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 2 โครงการ ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว คือ โครงการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองเจ็ดขนัดถึงบริเวณบ้านเลขที่ 35/14 และโครงการปรับปรุงสะพานทางเดินเลียบคลองบึงบ้านม้าบริเวณถนนศรีนครินทร์ถึงซอยพัฒนาการ58 คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(17) ร้อยละของความสำเร็จในการปรับปรุง/ขยายถนนตรอก ซอย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑ กรุงเทพมหานครมีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ ปลอดจากอุบัติภัยจาก สิ่งปลูกส
ร้อยละของความสำเร็จในการปรับปรุง/ขยายถนนตรอก ซอย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำแผนและขออนุมัติงบประมาณปรับปรุงซอยในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 3 กิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุงซอยในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 3 กิจกรรม ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 1 กิจกรรม และอยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุงซอย จำนวน 2 กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการปรับปรุงซอยในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 3 โครงการ ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยลแล้ว ทั้ง 3 โครงการ คือ โครงการปรับปรุงซอยอ่อนนุช31/2 โครงการปรับปรุงซอยบุปผาสวรรค์แยกซอยอ่อนนุช 35 และโครงการปรับปรุงซอยแยกซอยอ่อนนุช 39

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการปรับปรุงซอยในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 3 โครงการ ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทั้ง 3 โครงการ คือ โครงการปรับปรุงซอยอ่อนนุช31/2 โครงการปรับปรุงซอยบุปผาสวรรค์แยกซอยอ่อนนุช 35 และโครงการปรับปรุงซอยแยกซอยอ่อนนุช 39 คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(18) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :99.47

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.56

100 / 100
2
31.49

100 / 100
3
94.75

100 / 100
4
99.47

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-สำรวจและตรวจสอบจำนวนสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวน 355 แห่ง -ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 73 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.56

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำรวจและตรวจสอบจำนวนสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวน 362 แห่ง -ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตรวจสอบสถานประกอบการด้านอาหาร ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านชีวภาพ และสุขวิทยาส่วนบุคคล การมีบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร และการตรวจสุขภาพประจำปีผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 114 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 31.49

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำรวจและตรวจสอบจำนวนสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวน 362 แห่ง -ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตรวจสอบสถานประกอบการด้านอาหาร ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านชีวภาพ และสุขวิทยาส่วนบุคคล การมีบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร และการตรวจสุขภาพประจำปีผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 343 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 94.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำรวจและตรวจสอบจำนวนสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ จำนวน 377 แห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร จำนวน 251 แห่ง ตลาด 14 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง และมินิมาร์ท 106 แห่ง -ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตรวจสอบสถานประกอบการด้านอาหาร ได้แก่ ด้านกายภาพ ด้านชีวภาพ และสุขวิทยาส่วนบุคคล การมีบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร และการตรวจสุขภาพประจำปีผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 375 แห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร จำนวน 251 แห่ง ตลาด 12 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง และมินิมาร์ท 106 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 99.47

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(19) ร้อยละความสำเร็จในการปรับภูมิทัศน์พัฒนาคูคลองและถนนเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
ร้อยละความสำเร็จในการปรับภูมิทัศน์พัฒนาคูคลองและถนนเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาถนน จำนวน 2 สาย ได้แก่ ถนนพัฒนาการ และถนนพระรามเก้า ดำเนินการไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย สำรวจกล้อง CCTV ในพื้นที่เขตสวนหลวงให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ปรับปรุงซ่อมผิวทางเดินและผิวจราจรที่ชำรุด ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่ใช้สัญจรทางเท้า ทำความสะอาดป้ายรถเมล์ สะพานลอย ฯลฯ -ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง จำนวน 1 คลอง ได้แก่ คลองบึงบ้านม้า ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 15

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

--ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาถนน จำนวน 2 สาย ได้แก่ ถนนพัฒนาการ และถนนพระรามเก้า ดำเนินการไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย สำรวจกล้อง CCTV ในพื้นที่เขตสวนหลวงให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ปรับปรุงซ่อมผิวทางเดินและผิวจราจรที่ชำรุด ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่ใช้สัญจรทางเท้า ทำความสะอาดป้ายรถเมล์ สะพานลอย ฯลฯ -ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง จำนวน 1 คลอง ได้แก่ คลองบึงบ้านม้า ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาถนน จำนวน 2 สาย ได้แก่ ถนนพัฒนาการ และถนนพระรามเก้า ดำเนินการไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย สำรวจกล้อง CCTV ในพื้นที่เขตสวนหลวงให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ปรับปรุงซ่อมผิวทางเดินและผิวจราจรที่ชำรุด ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่ใช้สัญจรทางเท้า ทำความสะอาดป้ายรถเมล์ สะพานลอย ฯลฯ -ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง จำนวน 1 คลอง ได้แก่ คลองบึงบ้านม้า ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาถนน จำนวน 2 สาย ได้แก่ ถนนพัฒนาการ และถนนพระรามเก้า ดำเนินการไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย สำรวจกล้อง CCTV ในพื้นที่เขตสวนหลวงให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ปรับปรุงซ่อมผิวทางเดินและผิวจราจรที่ชำรุด ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่ใช้สัญจรทางเท้า ทำความสะอาดป้ายรถเมล์ สะพานลอย ฯลฯ -ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง จำนวน 1 คลอง ได้แก่ คลองบึงบ้านม้า ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(20) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
67.50

100 / 100
3
80.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่ จำนวน 1 ครั้ง ภายในเดือนธันวาคม 2562 ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนกำหนด ตามรายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละประเภท สำนักงานเขตสวนหลวงดำเนินการปลูกต้นไม้ จำนวน 3 แห่ง จาก 12 แห่ง/ปี คิดเป็นร้อยละ 25

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างต้นไม้เรียบร้อยแล้ว เตรียมพื้นที่เพื่อดำเนินการปลูกต้นไม้ยืนต้นและไม้ประดับในพื้นที่เขตสวนหลวง -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 แห่ง คือ หมู่บ้านจัดสรรโนเบิล ทารา พัฒนาการ ถ.พัฒนาการ พื้นที่ 6,845.60 ตร.ม. (4ไร่1งาน11.40ตร.ว.) และรายงานผลในระบบฐานข้อมูลฯ เรียบร้อยแล้ว -ดำเนินการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 6 แห่ง และบันทึกลงในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้ง (เดือนธ.ค.62 และเดือนมี.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างต้นไม้เรียบร้อยแล้ว เตรียมพื้นที่เพื่อดำเนินการปลูกต้นไม้ยืนต้นและไม้ประดับในพื้นที่เขตสวนหลวง -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 แห่ง คือ หมู่บ้านจัดสรรโนเบิล ทารา พัฒนาการ ถ.พัฒนาการ พื้นที่ 6,845.60 ตร.ม. (4ไร่1งาน11.40ตร.ว.) และรายงานผลในระบบฐานข้อมูลฯ เรียบร้อยแล้ว -ดำเนินการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 6 แห่ง และบันทึกลงในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 ครั้ง (เดือนธ.ค.62 เดือนมี.ค.63 และเดือนมิ.ย.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างต้นไม้เรียบร้อยแล้ว เตรียมพื้นที่เพื่อดำเนินการปลูกต้นไม้ยืนต้นและไม้ประดับในพื้นที่เขตสวนหลวง -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 แห่ง คือ หมู่บ้านจัดสรรโนเบิล ทารา พัฒนาการ ถ.พัฒนาการ พื้นที่ 6,845.60 ตร.ม. (4ไร่1งาน11.40ตร.ว.) และรายงานผลในระบบฐานข้อมูลฯ เรียบร้อยแล้ว -ดำเนินการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 9 แห่ง และบันทึกลงในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง/ปี (เดือนธ.ค.62 เดือนมี.ค.63 เดือนมิ.ย.63 และก.ย.63) -สรุปผลการดำเนินงาน จำนวนพื้นที่สีเขียว 10 ประเภท (สำนักงานเขตสวนหลวง อัตราส่วนพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขต เท่ากับ 10.64 ตร.ม./คน) คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(21) จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ภูมิป้ญญา

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิป้ญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำเตรียมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครโดยการนำผู้สูงอายุ/ผู้เกษียณอายุราชการ ที่มีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นเพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีงามเป็นประโยชน์แก่สังคม นำภูมิปัญญาที่มีอยู่มาเผยแพร่ จำนวน 1 ภูมิปัญญา คาดว่าจะดำเนินการในช่วงเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างจัดทำเตรียมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครโดยการนำผู้สูงอายุ/ผู้เกษียณอายุราชการ ที่มีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นเพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีงามเป็นประโยชน์แก่สังคม นำภูมิปัญญาที่มีอยู่มาเผยแพร่ จำนวน 1 ภูมิปัญญา คาดว่าจะดำเนินการในช่วงเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 1 ภูมิปัญญา ด้านปราชญ์ชาวบ้าน ชุมชนเจริญพัฒนาถาวร เขตสวนหลวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(22) จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ภูมิป้ญญา

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิป้ญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำเตรียมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครโดยการนำผู้สูงอายุ/ผู้เกษียณอายุราชการ ที่มีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นเพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีงามเป็นประโยชน์แก่สังคม นำภูมิปัญญาที่มีอยู่มาเผยแพร่ จำนวน 1 ภูมิปัญญา คาดว่าจะดำเนินการในช่วงเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างจัดทำเตรียมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานครโดยการนำผู้สูงอายุ/ผู้เกษียณอายุราชการ ที่มีความรู้ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นเพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีงามเป็นประโยชน์แก่สังคม นำภูมิปัญญาที่มีอยู่มาเผยแพร่ จำนวน 1 ภูมิปัญญา คาดว่าจะดำเนินการในช่วงเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 1 ภูมิปัญญา ด้านปราชญ์ชาวบ้าน ชุมชนเจริญพัฒนาถาวร เขตสวนหลวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ

(23) ร้อยละของแรงงานนอกระบบ/ผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับความรู้เรื่องการบริหารทางการเงิน มีการวางแผนทางการเงิน
[มิติที่ 1 : ]

๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง
ร้อยละของแรงงานนอกระบบ/ผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับความรู้เรื่องการบริหารทางการเงิน มีการวางแผนทางการเงิน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
3.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง และขออนุมัติเงินประจำงวด เพื่อดำเนินการให้ความรู้แก่แรงงานนอกระบบในเรื่องการบริหารการเงิน มีการวางแทนทางการเงิน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างจัดทำโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง และเตรียมดำเนินการให้ความรู้แก่แรงงานนอกระบบในเรื่องการบริหารการเงิน มีการวางแทนทางการเงิน แต่เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมที่รวมคนจำนวนมากได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างจัดทำโครงการรู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง และเตรียมดำเนินการให้ความรู้แก่แรงงานนอกระบบในเรื่องการบริหารการเงิน มีการวางแทนทางการเงิน แต่เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมที่รวมคนจำนวนมากได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ให้คำปรึกษาเรื่องการบริหารการเงิน ให้รู้จักการวางแผนทางการเงิน แก่แรงงานนอกระบบ และผู้ที่ว่างงาน จำนวน 5 คน (โดยไม่ใช้งบประมาณ)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(24) ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมวิชาชีพสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม
[มิติที่ 1 : ]

๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด
ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมวิชาชีพสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :70.00

ผลงาน :90.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
90.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำโครงการฝึกอบรมวิชาชีพเสริมสร้างรายได้ และขออนุมัติเงินประจำงวด คาดว่าจะดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ - กรกฎาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างสำรวจความต้องการของประชาชนในการฝึกอาชีพ และเสนอขออนุมัติโครงการเพื่อเตรียมการจัดการฝึกอบรมวิชาชีพต่อไป แต่เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019 (COVID-19) จึงได้ทำการเปลี่ยนแปลงฝึกอาชีพเป็นการเย็บผ้าปิดปาก และการทำเจลแอลกอฮอลล์ล้างมือ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019 (COVID-19) จึงได้ทำการเปลี่ยนแปลงฝึกอาชีพเป็นการเย็บผ้าปิดปาก และการทำเจลแอลกอฮอลล์ล้างมือ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-จัดฝึกอาชีพเป็นการเย็บผ้าปิดปาก และการทำเจลแอลกอฮอลล์ล้างมือ ให้แก่ประชาชน เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน และเป็นอาชีพเสริม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางสังคม

(25) ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมวิชาชีพสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม
[มิติที่ 1 : ]

๓.๒.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในเรื่องแรงงาน
ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมวิชาชีพสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :70.00

ผลงาน :90.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
90.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำโครงการฝึกอบรมวิชาชีพเสริมสร้างรายได้ และขออนุมัติเงินประจำงวด คาดว่าจะดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ - กรกฎาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างสำรวจความต้องการของประชาชนในการฝึกอาชีพ และเสนอขออนุมัติโครงการเพื่อเตรียมการจัดการฝึกอบรมวิชาชีพต่อไป แต่เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019 (COVID-19) จึงได้ทำการเปลี่ยนแปลงฝึกอาชีพเป็นการเย็บผ้าปิดปาก และการทำเจลแอลกอฮอลล์ล้างมือ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019 (COVID-19) จึงได้ทำการเปลี่ยนแปลงฝึกอาชีพเป็นการเย็บผ้าปิดปาก และการทำเจลแอลกอฮอลล์ล้างมือ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-จัดฝึกอาชีพเป็นการเย็บผ้าปิดปาก และการทำเจลแอลกอฮอลล์ล้างมือ ให้แก่ประชาชน เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน และเป็นอาชีพเสริม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(26) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :67.95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
67.95

100 / 100
4
67.95

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างรอผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (O-NET)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ระดับสำนักงานเขต คะแนนรวมระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 7.51 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 6.70 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 6.18 คะแนน ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ 67.948

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ระดับสำนักงานเขต คะแนนรวมระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 7.51 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 6.70 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 6.18 คะแนน ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ 67.948

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(27) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :67.95


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
67.95

100 / 100
4
67.95

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างรอผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (O-NET)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ระดับสำนักงานเขต คะแนนรวมระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 7.51 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 6.70 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 6.18 คะแนน ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ 67.948

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2562 ระดับสำนักงานเขต คะแนนรวมระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 7.51 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เท่ากับ 6.70 คะแนน คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 6.18 คะแนน ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ 67.948

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(28) จำนวนช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
จำนวนช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ช่องทาง

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ช่องทาง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
5.00

100 / 100
3
5.00

100 / 100
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ ตามโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2562 ณ สำนักงานเขตสวนหลวง ซึ่งมีช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรม จำนวน 5 ช่องทาง ได้แก่ ไลน์ เฟสบุ๊ค การประชาสัมพันธผ่านที่ประชุมกรรมการชุมชน หนังสือเชิญร่วมงาน การจัดนิทรรศการและติดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานวันพ่อแห่งชาติ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ ตามโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2562 ณ สำนักงานเขตสวนหลวง ซึ่งมีช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรม จำนวน 5 ช่องทาง ได้แก่ ไลน์ เฟสบุ๊ค การประชาสัมพันธผ่านที่ประชุมกรรมการชุมชน หนังสือเชิญร่วมงาน การจัดนิทรรศการและติดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานวันพ่อแห่งชาติ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ ตามโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2562 ณ สำนักงานเขตสวนหลวง ซึ่งมีช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรม จำนวน 5 ช่องทาง ได้แก่ ไลน์ เฟสบุ๊ค การประชาสัมพันธผ่านที่ประชุมกรรมการชุมชน หนังสือเชิญร่วมงาน การจัดนิทรรศการและติดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานวันพ่อแห่งชาติ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ ตามโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2562 ณ สำนักงานเขตสวนหลวง ซึ่งมีช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรม จำนวน 5 ช่องทาง ได้แก่ ไลน์ เฟสบุ๊ค การประชาสัมพันธผ่านที่ประชุมกรรมการชุมชน หนังสือเชิญร่วมงาน การจัดนิทรรศการและติดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานวันพ่อแห่งชาติ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม

(29) ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ จำนวน 55 ราย 121 หลัง โดยดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งครบตามที่ขออนุญาต คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ จำนวน 92 ราย 180 หลัง โดยดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งครบตามที่ขออนุญาต คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ จำนวน 152 ราย 591 หลัง โดยดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งครบตามที่ขออนุญาต คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน การดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารและกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้องขอ จำนวน 193 ราย 811 หลัง โดยดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งครบตามที่ขออนุญาต คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(30) ร้อยละของสำนักงานเขตมีการจัดเวทีให้ภาคประชาชนเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่เพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเขต
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
ร้อยละของสำนักงานเขตมีการจัดเวทีให้ภาคประชาชนเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่เพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเขต

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
45.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาพเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และขอนุมัติเงินประจำงวด เพื่อดำเนินการตามโครงการ ซึ่งจะดำเนินการจัดเวทีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตสวนหลวง และสภาเยาวชนเขตสวนหลวงเปิดพื้นที่การแสดงความคิดเห็น ทำกิจกรรมร่วมกัน คาดว่าจะดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ - สิงหาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างเตรียมการจัดทำโครงการค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมกิจการสภาพเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อดำเนินการตามโครงการ ซึ่งจะดำเนินการจัดเวทีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตสวนหลวง และสภาเยาวชนเขตสวนหลวงเปิดพื้นที่การแสดงความคิดเห็น ทำกิจกรรมร่วมกัน คาดว่าจะดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ - สิงหาคม 2563 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบายของโรคโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถเปิดเวทีจัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบายของโรคโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถเปิดเวทีจัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดเวทีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตสวนหลวง และสภาเยาวชนเขตสวนหลวงเปิดพื้นที่การแสดงความคิดเห็น ทำกิจกรรมร่วมกัน และส่งเสริมให้จัดตั้งชมรมทูบีนัมเบอร์วันเขตสวนหลวง (ดำเนินงานโดยไม่ใช้งบประมาณ)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(31) ร้อยละของเกษตรกร/ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตรที่ผ่านการฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้
[มิติที่ 1 : ]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
ร้อยละของเกษตรกร/ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเกษตรที่ผ่านการฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :60.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
60.00

100 / 100
4
60.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร และขออนุมัติเงินประจำงวด โดยจะดำเนินการในเดือน กุมภาพันธ์ - สิงหาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-จัดทำโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร และดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการประจำศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อประชุมหารือและถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-จัดทำโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร และดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการประจำศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อประชุมหารือและถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล

(32) ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด
[มิติที่ 1 : ]

๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล
ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :98.67

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.67

100 / 100
2
98.53

100 / 100
3
98.86

100 / 100
4
98.59

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 ผลสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 1288 ราย อยู่ในระดับพอใจมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.67

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 ผลสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 5213 ราย อยู่ในระดับพอใจมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.53

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มิถุนายน 2563 สำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด จำนวน 966 ราย อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.86

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 สำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด จำนวน 15,076 ราย อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.59

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(33) ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด
[มิติที่ 1 : ]

๗.๓.๑ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสม
ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่มาขอรับบริการ ณ ศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :98.67


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.67

100 / 100
2
98.53

100 / 100
3
98.86

100 / 100
4
98.59

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 ผลสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 1288 ราย อยู่ในระดับพอใจมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.67

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 ผลสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 5213 ราย อยู่ในระดับพอใจมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.53

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มิถุนายน 2563 สำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด จำนวน 966 ราย อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.86

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินกิจกรรมศูนย์บริหารราชการฉับไว ใสสะอาด ให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 สำรวจความพึงพอใจจากการให้บริการประชาชนผู้มารับบริการศูนย์บริหาราชการฉับไวใสสะอาด จำนวน 15,076 ราย อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.59

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(34) ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ -ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี -ร้อยละของการบังคับภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้
-ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
-ร้อยละของการบังคับภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
21.06

100 / 100
2
27.24

100 / 100
3
30.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำโครงการและส่งแบบแจ้งข้อมูลอาคารชุด ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง บัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้อง และให้ประชาชนยื่นคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/บัญชีรายการห้องชุด 1. เป้าหมายการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย อยู่ระหว่างรอสำนักการคลังกำหนดเป้าหมาย 2. การจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 3 ประเภท (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) ณ 30 กันยายน 2562 ภาษีโรงเรือนและที่ดิน มียอดค้างชำระ จำนวน 17 ราย เป็นเงิน 4,871,304.31 บาท ชำระแล้ว 4 ราย เป็นเงิน 1,024,151.03 บาท ภาษีบำรุงท้องที่ มียอดลูกหนี้ค้างชำระ 54 ราย เป็นเงิน 6,458.80 บาท ชำระแล้ว 22 ราย เป็นเงิน 2,992.50 บาท ภาษีป้าย ไม่มียอดลูกหนี้ค้างชำระ รวมยอดลูกหนี้ค้างชำระที่ชำระเงินแล้ว จำนวน 26 ราย เป็นเงิน 1,027,143.53 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.06

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ประมาณการรายรับประจำปีงบประมาณ 2563 เป็นเงิน 218,000,000 บาท กำลังดำเนินการแก้ไขข้อมูลคำร้องแก้ไขบัญชีรายการห้องชุด และบันทึกข้อมูลลงในระบบตามแบบสำรวจข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2. ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักการคลัง กรุงเทพมหานครกำหนด ซึ่งผลการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 – 24 มีนาคม 2563 มีรายละเอียดดังนี้ (2.1) ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป้าหมายการจัดเก็บ 12,000,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 243 ราย เป็นเงิน 13,740,743.53 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 318 ราย เป็นเงิน 15,583,469.05 บาท คิดเป็นร้อยละ 129.86 (2.2) ภาษีบำรุงท้องที่ เป้าหมายการจัดเก็บ 400,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 243 ราย เป็นเงิน 646,415.50 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 666 ราย เป็นเงิน 673,702.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 168.43 (2.3) ภาษีป้าย เป้าหมายการจัดเก็บ 25,500,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 1,094 ราย เป็นเงิน 11,430,222.00 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 1,114 ราย เป็นเงิน 10,241,919.55 บาท คิดเป็นร้อยละ 40.16 รวมยอดประเมิน 25,817,381.03 บาท 1,580 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.09 ยอดการจัดเก็บ 26,499,091.20 บาท 2,098 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.36 3. การจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 3 ประเภท (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) ณ 30 กันยายน 2562 ภาษีโรงเรือนและที่ดิน มียอดค้างชำระ จำนวน 17 ราย เป็นเงิน 4,871,304.31 บาท ชำระแล้ว 9 ราย เป็นเงิน 1,323,895.24 บาท ภาษีบำรุงท้องที่ มียอดลูกหนี้ค้างชำระ 54 ราย เป็นเงิน 6,458.80 บาท ชำระแล้ว 32 ราย เป็นเงิน 4,091.00 บาท ภาษีป้าย ไม่มียอดลูกหนี้ค้างชำระ รวมยอดลูกหนี้ค้างชำระที่ชำระเงินแล้ว จำนวน 41 ราย เป็นเงิน 1,327,986.24 บาท คิดเป็นร้อยละ 27.24

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ประมาณการรายรับประจำปีงบประมาณ 2563 เป็นเงิน 218,000,000 บาท กำลังดำเนินการแก้ไขข้อมูลคำร้องแก้ไขบัญชีรายการห้องชุด และบันทึกข้อมูลลงในระบบตามแบบ สำรวจข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2. ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักการคลัง กรุงเทพมหานครกำหนด ซึ่งผลการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 – 31 พฤษภาคม 2563 มีรายละเอียดดังนี้ (2.1) ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป้าหมายการจัดเก็บ 12,000,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 283 ราย เป็นเงิน 16,416,623.53 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 397 ราย เป็นเงิน 18,801,264.96 บาท คิดเป็นร้อยละ 156.68 (2.2) ภาษีบำรุงท้องที่ เป้าหมายการจัดเก็บ 400,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 273 ราย เป็นเงิน 682,157.40 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 759 ราย เป็นเงิน 713,732.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 178.43 (2.3) ภาษีป้าย เป้าหมายการจัดเก็บ 25,500,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 1,584 ราย เป็นเงิน 19,367,639.00 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 1,685 ราย เป็นเงิน 18,388,807.95 บาท คิดเป็นร้อยละ 72.11 รวมยอดประเมิน 36,466,446.93 บาท 2,140 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.25 ยอดการจัดเก็บ 37,903,517.01 บาท 2,841 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.81 3. การจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 3 ประเภท (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) ณ 30 กันยายน 2562 ภาษีโรงเรือนและที่ดิน มียอดค้างชำระ จำนวน 17 ราย เป็นเงิน 4,871,304.31 บาท ชำระแล้ว 12 ราย เป็นเงิน 1,457,986.92 บาท ภาษีบำรุงท้องที่ มียอดลูกหนี้ค้างชำระ 54 ราย เป็นเงิน 6,458.80 บาท ชำระแล้ว 47 ราย เป็นเงิน 5,163.90 บาท ภาษีป้าย ไม่มียอดลูกหนี้ค้างชำระ รวมยอดลูกหนี้ค้างชำระที่ชำระเงินแล้ว จำนวน 59 ราย เป็นเงิน 1,463,150.82 บาท คิดเป็นร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการตรวจสอบหาผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563 จำนวน 18,706 ราย -ยอดที่สำนักงานเขตแจ้งการประเมินภาษี จำนวน 18,796 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด