ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50460000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมือเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมือเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :31.42

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.00

100 / 100
2
13.00

95 / 100
3
23.00

100 / 100
4
31.42

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และนำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล 3,224.59 ตัน (2) มูลฝอยประเภทกิ่งไม้ ใบไม้ 197.20 ตัน (3) มูลฝอยเศษอาหาร เศผัก เศษผลไม้ ฯลฯ 918.21 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และนำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล 4,870 ตัน (2) มูลฝอยประเภทกิ่งไม้ ใบไม้ 312 ตัน (3) มูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ฯลฯ 1,200 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และมูลฝอยรีไซเคิล นำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล 4,927.61 ตัน (2) มูลฝอยอินทรีย์(กิ่งไม้ ใบไม้ เศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ฯลฯ 1,619.033 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และมูลฝอยรีไซเคิล นำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563-เดือนกันยายน 2564 ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล จำนวน 19,577.79 ตัน หรือ 53.64 ตัน/วัน (2) มูลฝอยอินทรีย์ (กิ่งไม้ ใบไม้ เศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ท่อนไม้ ฯลฯ จำนวน 6,700.79 ตัน หรือ 18.36 ตัน/วัน (3) คิดเป็นร้อยละ 31.42 ของเป้าหมายที่กำหนด หรือ ร้อยละ 104.73 ตามเป้าหมายที่สสล.กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมือเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมือเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :31.42

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.00

100 / 100
2
13.00

95 / 100
3
23.00

100 / 100
4
31.42

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และนำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล 3,224.59 ตัน (2) มูลฝอยประเภทกิ่งไม้ ใบไม้ 197.20 ตัน (3) มูลฝอยเศษอาหาร เศผัก เศษผลไม้ ฯลฯ 918.21 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และนำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล 4,870 ตัน (2) มูลฝอยประเภทกิ่งไม้ ใบไม้ 312 ตัน (3) มูลฝอยเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ฯลฯ 1,200 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และมูลฝอยรีไซเคิล นำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล 4,927.61 ตัน (2) มูลฝอยอินทรีย์(กิ่งไม้ ใบไม้ เศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ฯลฯ 1,619.033 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์และมูลฝอยรีไซเคิล นำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563-เดือนกันยายน 2564 ดังนี้ (1) มูลฝอยรีไซเคิล จำนวน 19,577.79 ตัน หรือ 53.64 ตัน/วัน (2) มูลฝอยอินทรีย์ (กิ่งไม้ ใบไม้ เศษอาหาร เศษผัก เศษผลไม้ ท่อนไม้ ฯลฯ จำนวน 6,700.79 ตัน หรือ 18.36 ตัน/วัน (3) คิดเป็นร้อยละ 31.42 ของเป้าหมายที่กำหนด หรือ ร้อยละ 104.73 ตามเป้าหมายที่สสล.กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(3) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :147.19

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

95 / 100
3
147.00

95 / 100
4
147.19

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการจัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวประจำเดือนตุลาคม 2563-เดือนธันวาคม 2563 -นำข้อมูลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ซอยไทยรามัญ 1 พื้นที่ 34 ไร่ 85.53 ตารางวา (2) สนามกีฬากลางแจ้งโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 4 ไร่ 3 งาน 56.44 ตารางวา (3) พื้นที่ว่างข้างหมู่บ้านมายโฮม ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 12 ไร่ 54.45 ตารางวา (4) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวข้างหมู่บ้านเดอะริคโค่เรสซิเด้น ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 24 ไร่ 2 งาน 99.57 ตารางวา (5) ที่ว่างซอยหทัยราษฎร์ 46 พื้นที่ 32 ไร่ 2 งาน 28.83 ตารางวา (6) ที่ว่างซอยหทัยราษฎร์ 42/1 พื้นที่ 17 ไร่ 2 งาน 55.43 ตารางวา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการจัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวประจำเดือนมกราคม 2564-เดือนมีนาคม 2564 2. นำข้อมูลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานครที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ตรงข้ามซอยวัดสุขใจ 20 ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 59 ไร่ 72 ตารางวา (2) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ตรงข้ามสวนเกษตรสุขใจ 1 ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 22 ไร่ 1 งาน 60.55 ตารางวา (3) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวตรงข้ามศูนย์วิปัสสนา วิริยธรรมโม ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 51 ไร่ 1 งาน 3.81 ตารางวา (4) สนามกีฬากลางแจ้งโรงเรียนสตรีวิทยา 2 ถนนนิมิตใหม่ เขตคลองสามวา พื้นที่ 4 ไร่ 1 งาน 99.37 ตารางวา (5) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ตรงข้ามวัดสุขใจ 18 ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 46 ไร่ 2 งาน 67 ตารางวา (6) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวซอยนิมิตใหม่ 50 ถนนนิมิตใหม่ พื้นที่ 62 ไร่ 1 งาน 53.19 ตารางวา 3. นำข้อมูลสวนหย่อม/สวนสาธารณะ(สวน 7 ประเภท) ที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (1)สวนหย่อมโรงเรียนบางชัน(ปลื้มวิทยานุสรณ์) พื้นที่ 1 งาน 54 ตารางวา (2)สวนหย่อมหมู่บ้านทัสคาน่า ถนนพระยาสุเรนทร์ พื้นที่ 1 ไร่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการจัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวประจำเดือนเมษายน 2564-เดือนมิถุนายน 2564 2. เพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของ กทม.(สวน9ประเภท)ลงในระบบโปรแกรมฯเป็นปัจจุบัน ดังนี้ (2.1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวข้างหมู่บ้านวงศกร 5 ถ.หนองระแหง พื้นที่ 27 ไร่ 64.82 ตารางวา (2.2) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวข้างหมู่บ้านเซ็นโทร ถ.หนองระแหง พื้นที่ 99 ไร่ 86.83 ตารางวา (2.3) สนามฟุตบอลธนเพชร ถ.คู่ขานกาญจนาภิเษก พื้นที่ ไร่ 3 งาน 20.10 ตารางวา 3. เพิ่มพื้นที่สีเขียว(สวน 7 ประเภท) ที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (3.1)สวนหย่อมหมู่บ้านเซ็นโทร ถนนวงแหวนจตุโชติ พื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน (3.2)สวนหย่อมหมู่บ้านราชพฤกษ์ ถนนหนองระแหง พื้นที่ 5 ไร่ 1 งาน (3.3) สวนหย่อมหมู่บ้านพลีโน่ ถนนวงแหวน-รามอินทรา พื้นที่ 3 ไร่ 1 งาน (3.4)สวนหย่อมหมู่บ้านวงศกร 5 ถนนหนองระแหง พื้นที่ 3 ไร่ (3.5)สวนหย่อมหมู่บ้านเพอเฟคเพลส(1) ถนนพระยาสุเรนทร์ พื้นที่ 3 ไร่ (3.6)สวนหย่อมหมู่บ้านเพอเฟคเพลส(2) ถนนพระยาสุเรนทร์ พื้นที่ 1 ไร่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563-เดือนกันยายน 2564 ดังนี้ 1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม จำนวน 8 แห่ง พื้นที่ 19 ไร่ 54 ตารางวา 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ จำนวน 18 แห่ง พื้นที่ 623 ไร่ 1 งาน 26.05 ตารางวา 3. คิดเป็นร้อยละ 147.19 ของเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(4) 4. กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
4. กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
30.00

95 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยู่ระหว่างขั้นตอนอยู่่ระหว่างประสานสถานที่จัดงาน ประสานชุมชนและรายละเอียดการจัดงาน และอยู่ระหว่างขออนุมัติเงินประจำงวด 2. ดำเนินการประสานสถานที่จัดงานและประสานร้านค้า แต่เนื่องจากขณะนี้เกิดโรคระบาดไวรัสโคโรน่า จึงชลอการจัดงานไว้ก่อน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ได้ประสานสถานที่จัดงานและร้านค้าที่จะเข้าร่วมงาน โดยกำหนดจัดกิจกรรมถนนคนเดิน "สามวาพาเพลิน" ในวันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564 เวลา 08.00 - 16.00 น. ณ บริเวณลานจอดรถ สำนักงานเขตคลองสามวา กิจกรรมประกอบด้วย การตักบาตรพระสงฆ์ จำนวน 9 รูป การ่จำหน่ายสินค้าชุมชน สินค้าโอท็อป ผลิตภัณฑ์บางกอกแบรนด์ การประกวดการแต่งกายชุดผ้าไทย การแสดงของนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตคลองสามวา กิจกรรมตามโครงการพันธุกรรมพืช ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ และเงินออม และได้เวียนแจ้งทุกฝ่ายในการเข้าร่วมงานดังกล่าว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรมครั้งที่ ๒ ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนกันยายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

22/09/2564 : สำนักงานเขตคลองสามวาจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 ภายใต้ชื่องานคิดถึงที่สุด สามวา...พาทัวร์ โดยจัดวันที่ 1-9 กันยายน 2564 1.มีการนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่เขตคลองสามวาให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากยิ่งขึ้น ผ่านการจัดกิจกรรมประกวดภาพถ่ายแหล่งท่องเที่ยว โดยมีผู้เข้าร่วมประกวดภาพถ่าย จำนวน 4 ราย 2.การสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับประชาชน ชุมชนและบริเวณใกล้เคียง โดยมีการส่งภาพถ่ายอาหารสวยงามเข้าประกวด ส่งผลให้เกิดการกระตุ้นยอดขาย จำนวน 42 ร้านค้า รายได้รวมประมาณ 20,000.- บาท 3.การส่งเสริมการมีส่วนร่วม โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการส่งผลงานเข้าประกวดทั้ง 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 จัดการประกวดภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยวที่ชื่นชอบในพื้นที่เขตคลองสามวา พร้อมทั้งให้เหตุผลว่าทำไมถึงชื่นชอบ จำนวน 4 ราย 5 ภาพ กิจกรรมที่ 2 จัดประกวดภาพถ่ายอาหารที่ชื่นชอบ พร้อมทั้งให้เหตุผล ราคา สถานที่จำหน่าย ในพื้นที่เขตคลองสามวา จำนวน 8 ราย 21 ภาพ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งผู้จำหน่าย ผู้ร่วมการประกวด จำนวน 100 ราย ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงาน ร้อยละ 95

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด