ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50470000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐ (๒,๔๑๙.๙๗ ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐ (๒,๔๑๙.๙๗ ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ทำได้ 8,017.944 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ทำได้ 6,381.719 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ทำได้ 1,636.225 ตัน คิดเป็นวันละ 87.15 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ทำได้ 14,553.020 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ทำได้ 11,225.175 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ทำได้ 3,327.845 ตัน คิดเป็นวันละ 79.96 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ทำได้ 21,420.208 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ทำได้ 16,402.093 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ทำได้ 5,018.115 ตัน คิดเป็นวันละ 78.46 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ทำได้ 27,496.326 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ทำได้ 20,914.681 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ทำได้ 6,581.645 ตัน คิดเป็นวันละ 75.33 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐ (๒,๔๑๙.๙๗ ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๐ (๒,๔๑๙.๙๗ ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ทำได้ 8,017.944 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ทำได้ 6,381.719 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ทำได้ 1,636.225 ตัน คิดเป็นวันละ 87.15 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ทำได้ 14,553.020 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ทำได้ 11,225.175 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ทำได้ 3,327.845 ตัน คิดเป็นวันละ 79.96 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ทำได้ 21,420.208 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ทำได้ 16,402.093 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ทำได้ 5,018.115 ตัน คิดเป็นวันละ 78.46 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตัน/วัน) เป้าหมายจากสำนักสิ่งแวดล้อม = 26,173.09 ตัน/ปี หรือ 71.71 ตัน/วัน เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ทำได้ 27,496.326 ตัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ทำได้ 20,914.681 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ทำได้ 6,581.645 ตัน คิดเป็นวันละ 75.33 ตัน/วัน ดำเนินการได้ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(3) ร้อยละของมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละของมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :18.00

ผลงาน :105.86

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
12.77

100 / 100
2
29.00

0 / 0
3
64.36

0 / 0
4
105.86

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนตุลาคม 2563 ได้ปริมาณน้ำหนัก 570 กิโลกรัม เดือนพฤศจิกายน 2563 ได้ปริมาณน้ำหนัก 690 กิโลกรัม เดือนธันวาคม 2563 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,030 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 2,290 กิโลกรัม หรือ 2.29 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 12.77 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 2.30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนมกราคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 670 กิโลกรัม เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,330 กิโลกรัม เดือนมีนาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 910 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 2,910 กิโลกรัม หรือ 2.91 ตัน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 31 มี.ค. 64 รวมทำได้ 5.2 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 29.00 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 5.22)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนเมษายน 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 2,270 กิโลกรัม เดือนพฤษภาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 2,890 กิโลกรัม เดือนมิถุนายน 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,180 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 6,340 กิโลกรัม หรือ 6.34 ตัน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 30 มิ.ย. 64 รวมทำได้ 11.54 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 64.36 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 11.59)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนกรกฎาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,890 กิโลกรัม เดือนสิงหาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 5,060 กิโลกรัม เดือนกันยายน 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 490 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 7,440 กิโลกรัม หรือ 7.44 ตัน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 รวมทำได้ 18.98 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 105.86 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 19.05)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(4) ร้อยละของมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละของมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :18.00

ผลงาน :105.86

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
12.77

100 / 100
2
29.00

0 / 0
3
64.36

0 / 0
4
105.86

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนตุลาคม 2563 ได้ปริมาณน้ำหนัก 570 กิโลกรัม เดือนพฤศจิกายน 2563 ได้ปริมาณน้ำหนัก 690 กิโลกรัม เดือนธันวาคม 2563 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,030 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 2,290 กิโลกรัม หรือ 2.29 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 12.77 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 2.30)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนมกราคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 670 กิโลกรัม เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,330 กิโลกรัม เดือนมีนาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 910 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 2,910 กิโลกรัม หรือ 2.91 ตัน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 31 มี.ค. 64 รวมทำได้ 5.2 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 29.00 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 5.22)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนเมษายน 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 2,270 กิโลกรัม เดือนพฤษภาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 2,890 กิโลกรัม เดือนมิถุนายน 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,180 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 6,340 กิโลกรัม หรือ 6.34 ตัน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 30 มิ.ย. 64 รวมทำได้ 11.54 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 64.36 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 11.59)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย เดือนกรกฎาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 1,890 กิโลกรัม เดือนสิงหาคม 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 5,060 กิโลกรัม เดือนกันยายน 2564 ได้ปริมาณน้ำหนัก 490 กิโลกรัม รวม 3 เดือน จัดเก็บได้ปริมาณน้ำหนัก 7,440 กิโลกรัม หรือ 7.44 ตัน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 รวมทำได้ 18.98 ตัน เป้าหมาย จาก สสล. = 17.93 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 105.86 (เทียบกับเป้าหมาย สสล. ร้อยละ 18 คิดเป็นร้อยละ 19.05)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(5) ร้อยละความสำเร็จของการติดตั้งและ/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ร้อยละความสำเร็จของการติดตั้งและ/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
91.67

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 ประสานการไฟฟ้านครหลวงบางนา - ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 126 ดวง ดำเนินการเรียบร้อย - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 4 ซอย รวม 25 ดวง อยู่ระหว่างกำลังดำเนินการเบิกจ่ายเงินครึ่งแรก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 - มีนาคม 2564 ประสานการไฟฟ้านครหลวงเขตบางนา - ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 85 ดวง ดำเนินการเรียบร้อย - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 4 ซอย รวม 25 ดวง อยู่ระหว่างการดำเนินการส่งมอบงาน และจะดำเนินการเบิกจ่ายเงินส่วนที่เหลือให้กับการไฟฟ้านครหลวงเขตบางนา - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ (ใหม่) จำนวน 21 ดวง อยู่ระว่างประสานขอจัดสรรงบประมาณ สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน 2564 - มิถุนายน 2564 ประสานการไฟฟ้านครหลวงเขตบางนา - ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 64 ดวง ดำเนินการเรียบร้อย - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 4 ซอย รวม 25 ดวง ดำเนินการเรียบร้อยเเล้ว - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 21 ดวง (ใหม่) อยุ่ระหว่างจัดทำฏีกาเบิกจ่ายเงินค่าติดตั้งไฟฟ้าครึ่งแรกให้กับการไฟฟ้านครหลวงเขตบางนา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564 ประสานการไฟฟ้านครหลวงเขตบางนา ตามรายการต่อไปนี้ - ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 80 ดวง ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 4 ซอย รวม 25 ดวง ดำเนินการเรียบร้อยเเล้ว - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 21 ดวง ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - ขอติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะริมคลองเคล็ด จำนวน 8 ดวง ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว รวม 1. ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ ประจำปี 2564 จำนวน 355 ดวง 2. ติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ ประจำปี 2564 จำนวน 54 ดวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
65.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ฝ่ายเทศกิจ : - จัดเจ้าหน้าที่ออกกวดขัน ตรวจตราดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัยพ์สินของประชาชนในบริเวณซอยเปลี่ยว ที่รกร้าง ป้ายรถประจำทาง สะพานลอยและสถานีรถไฟฟ้า ฯลฯ ครบไตรมาสที่ 1 ตั้งแต่ 1ต.ค. 2563-31 ธ.ค. 2563 จำนวน 3,680 ครั้ง (4ครั้ง/จุด/วัน) - จัดเจ้าหน้าที่ออกบริการรับ ส่งประชาชนบริเวณซอยเปลี่ยว ครบไตรมาสที่ 1 ตั้งแต่ 1ต.ค. 2563-31 ธ.ค. 2563 จำนวน 92 ครั้ง (1ครั้ง/จุด/วัน) - จัดเจ้าหน้าที่ออกอำนวยความสะดวกและดูแลความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนในตอนเช้า-เย็น จำนวน 8 โรงเรียน ครบไตรมาสที่ 1 ตั้งแต่ 1ต.ค. 2563-31 ธ.ค. 2563 จำนวน 880 ครั้ง (2ครั้ง/จุด/วัน) - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) จำนวน 10 จุด ครบไตรมาสที่ 1 ตั้งแต่1ต.ค. 2563-31 ธ.ค. 2563 จำนวน 3,680 ครั้ง (อย่างน้อย 4 ครั้ง/จุด/วัน) - ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณพื้นที่เสี่ยง จำนวน 10 จุด ครบไตรมาสที่ 1 ตั้งแต่1ต.ค. 2563-31 ธ.ค. 2563 จำนวน 1,840 ครั้ง (อย่างน้อย 2 ครั้ง/จุด/วัน) - ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม - จัดทำหนังสือประสานสถานีตำรวจนครบาลบางนา ที่ กท 8409/4740 ลว. 3 พ.ย. 2563 และ กท 8409/5245 ลว. 10 ธ.ค. 2563 เรื่องขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยง จุดหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ - รายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ ทันภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ตามระยะเวลาที่กำหนด ฝ่ายโยธา : - เดือนตุลาคม 2563 ทำหนังสือประสานการไฟฟ้าเขตบางนา ที่ กท 8403/4631 ลว. 27 ต.ค.2563 เรื่องขอความร่วมมือแก้ไขไฟฟ้าสาธารณะ ปากซอยบางนา-ตราด 19 จำนวน 1 ดวง เลขที่รับแจ้ง รท.164/63 - เดือนพฤศจิกายนและเดิอนธันวาคม 2563 ไฟฟ้าส่องสว่างที่ติดตั้งในบริเวณจุดเสี่ยง 10 จุด ตรวจสอบไม่พบความเสียหายและชำรุด ฝ่ายรักษาฯ : - รายงานการพัฒนาพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของสำนักงานเขตบางนา จำนวน 10 จุด ที่ กท 8406/809 ลว. 11 พ.ย. 2563, กท 8406/855 ลว. 30 พ.ย. 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายเทศกิจ ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย ตามไตรมาสที่ 2 ดังนี้ 1.จัดเจ้าหน้าที่ออกกวดขัน ตรวจตราดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัยพ์สินของประชาชนตามบัญชีพื้นที่เสี่ยงและอันตรายในบริเวณ ทั้ง 10 จุด ครบไตรมาสที่ 2 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2564-31 มี.ค. 2564 รวมทั้งสิ้น 3,600 ครั้ง (4 ครั้ง/จุด/วัน) 2.จัดเจ้าหน้าที่ออกบริการรับ ส่งประชาชน ตามโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ บริเวณซอยเปลี่ยว ครบไตรมาสที่ 2 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2564-31 มี.ค. 2564 รวมทั้งสิ้น 90 ครั้ง (1 ครั้ง/จุด/วัน) 3.จัดเจ้าหน้าที่ออกอำนวยความสะดวกและดูแลความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนในตอนเช้า-เย็น จำนวน 8 โรงเรียน ครบไตรมาสที่ 2 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2564-31 มี.ค. 2564 รวมทั้งสิ้น 992 ครั้ง (2 ครั้ง/จุด/วัน) 4.จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) จำนวน 10 จุด ตามบัญชีติดตั้งตู้เขียว ครบไตรมาสที่ 2 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2564-31 มี.ค. 2564 รวมทั้งสิ้น 3,600 ครั้ง (4 ครั้ง/จุด/วัน) 5.ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณพื้นที่เสี่ยง ครบไตรมาสที่ 2 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2564-31 มี.ค. 2564 รวมทั้งสิ้น 1,800 ครั้ง (2 ครั้ง/จุด/วัน) และประสาน สจส.ซ่อมแซมแก้ไขกล้องวงจรปิด CCTV 6.ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมครบ 10 จุด 7.สำรวจ ตรวจตรา ปรับ แก้ไข สภาพแวดล้อมพื้นที่ พร้อมประสานโยธา การไฟฟ้าเขตบางนา(กรณีซ่อมไฟฟ้าส่องสว่าง) และประสานฝ่ายรักษาฯ(การดูแลต้นไม้) 8.มีหนังสือประสานสถานีตำรวจนครบาลบางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยง จุดหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ที่ กท 8409/939 ลว. 3 มี.ค. 2564 9. มีหนังสือประสานการไฟฟ้าเขตบานา ที่ กท 8403/1045 ลว. 9 มี.ค.2564 เรื่องแจ้งซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะฃำรุด บริเวณซอยแบริ่ง 13 และที่ กท 8403/1049 ลว. 19 มี.ค.2564 เรื่องแจ้งซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะฃำรุด บริเวณซอยบางนา-ตราด 19 10.รายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ ที่ กท 8409/1590 ลว. 2 เม.ย. 2564 ตามระยะเวลาที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายเทศกิจ ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย ตามไตรมาสที่ 3 ดังนี้ 1.จัดเจ้าหน้าที่ออกกวดขัน ตรวจตราดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัยพ์สินของประชาชนตามบัญชีพื้นที่เสี่ยงและอันตรายในบริเวณ ทั้ง 10 จุด ครบไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 1 เม.ย. 2564-30 มิ.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 3,640 ครั้ง (4 ครั้ง/จุด/วัน) 2.จัดเจ้าหน้าที่ออกบริการรับส่งประชาชน ตามโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ บริเวณซอยเปลี่ยว ครบไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 1 เม.ย. 2564-30 มิ.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 91 ครั้ง (1 ครั้ง/จุด/วัน) 3.จัดเจ้าหน้าที่ออกอำนวยความสะดวกและดูแลความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนในตอนเช้า-เย็น จำนวน 0 โรงเรียน ครบไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 1 เม.ย. 2564-30 มิ.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 0 ครั้ง (2 ครั้ง/จุด/วัน) (ปิดสถานศึกษาตามประกาศกรุงเทพมหานคร) 4.จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) จำนวน 10 จุด ตามบัญชีติดตั้งตู้เขียว ครบไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 1 เม.ย. 2564-30 มิ.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 3,640 ครั้ง (4 ครั้ง/จุด/วัน) 5.ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณพื้นที่เสี่ยง ครบไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 1 เม.ย. 2564-30 มิ.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 1,820 ครั้ง (2 ครั้ง/จุด/วัน) และประสาน สจส.ซ่อมแซมแก้ไขกล้องวงจรปิด CCTV 6.ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมครบ 10 จุด 7.สำรวจ ตรวจตรา ปรับ แก้ไข สภาพแวดล้อมพื้นที่ พร้อมประสานโยธา การไฟฟ้าเขตบางนา(กรณีซ่อมไฟฟ้าส่องสว่าง) และประสานฝ่ายรักษาฯ(การดูแลต้นไม้) 8.หนังสือประสานสถานีตำรวจนครบาลบางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยง จุดหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ที่ประจำทุกเดือน ที่ กท 8409/1943 ลว. 3 พ.ค.2564 เรื่อง ข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุเสี่ยง จุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ 9. มีหนังสือประสานการไฟฟ้าเขตบานา ที่ กท 8403/2289 ลว. 27 พ.ค.2564 เรื่องแจ้งซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะฃำรุด บริเวณซอยลาซาล 55 10.รายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ ที่ กท 8409/2422 ลว. 2 มิ.ย. 2564 ตามระยะเวลาที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายเทศกิจ ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย ตามไตรมาสที่ 4 ตามนโยบายในการดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีมีความปลอดภัยจากอาชญากรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1.จัดเจ้าหน้าที่ออกกวดขัน ตรวจตราดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัยพ์สินของประชาชนตามบัญชีพื้นที่เสี่ยงและอันตรายในบริเวณ ทั้ง 10 จุด ครบไตรมาสที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2564-30 ก.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 3,680 ครั้ง (4 ครั้ง/จุด/วัน) 2.จัดเจ้าหน้าที่ออกบริการรับส่งประชาชน ตามโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ บริเวณซอยเปลี่ยว ครบไตรมาสที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2564-30 ก.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 92 ครั้ง (1 ครั้ง/จุด/วัน) 3.จัดเจ้าหน้าที่ออกอำนวยความสะดวกและดูแลความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนในตอนเช้า-เย็น จำนวน 0 โรงเรียน ครบไตรมาสที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2564-30 ก.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 0 ครั้ง (2 ครั้ง/จุด/วัน) (ปิดสถานศึกษาตามประกาศกรุงเทพมหานคร) เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 4.จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจเฝ้าระวังและพื้นที่เสี่ยงภัย (สายตรวจตู้เขียว) จำนวน 10 จุด ตามบัญชีติดตั้งตู้เขียว ครบไตรมาสที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2564-30 ก.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 3,680 ครั้ง (4 ครั้ง/จุด/วัน) 5.ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณพื้นที่เสี่ยง ครบไตรมาสที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2564-30 ก.ย. 2564 รวมทั้งสิ้น 1,840 ครั้ง (2 ครั้ง/จุด/วัน) และประสาน สจส.ซ่อมแซมแก้ไขกล้องวงจรปิด CCTV 6.ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรมครบถ้วนทั้ง 10 จุด ตามบัญชีติดตั้งตู้เขียว 7.สำรวจ ตรวจตรา ปรับ แก้ไข สภาพแวดล้อมพื้นที่ พร้อมประสานโยธา การไฟฟ้าเขตบางนา ที่ กท 8403/18403 ลว. 20 ส.ค.2564 (กรณีซ่อมไฟฟ้าส่องสว่าง) และประสานฝ่ายรักษาฯ(การดูแลต้นไม้) ตามแผนที่กำหนด 8.หนังสือประสานสถานีตำรวจนครบาลบางนา เรื่อง ขอสอบถามข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุดเสี่ยง จุดหล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ที่ กท 8409/3235 ลว. 2 ส.ค.2564 เรื่อง ข้อมูลการเกิดอาชญากรรมในจุเสี่ยง จุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ 9. มีหนังสือประสานการไฟฟ้าเขตบานา ที่ กท 8403/3378 ลว. 11 ส.ค.2564 เรื่องแจ้งซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะฃำรุด 10.รายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ ตั้งแต่ 1 ก.ค.-30 ก.ย.64 ตามระยะเวลาที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) จำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและผู้เข้าร่วมกิจกรรม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
จำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและผู้เข้าร่วมกิจกรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :94.25


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
94.25

0 / 0
4
94.25

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 (ต.ค.-ธ.ค.63) เสนอโครงการและและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการตามโครงการ และประชาสัมพันธ์ให้อาสาสมัครกรุงเทพฯ และประชาชนในชุมชนทราบเพื่อจะดำเนินกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 (ม.ค.-มี.ค.64) ประชาสัมพันธ์ให้อาสาสมัครกรุงเทพฯ และประชาชนในชุมชนทราบ และดำเนินกิจกรรมตามโครงการในวันที่ 21 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมบางนาภิรมย์ กลุ่มเป้าหมาย 205 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 184 คน อยู่ระหว่างการชดใช้เงินยืมใช้ในราชการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 (เม.ย..-มิ.ย.64) ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ทราบ ขอและดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ สำนักงานเขตบางนา ชุมชน และสถานประกอบการในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย 160 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 160 คน รวม 2 กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย 365 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 344 คน คิดเป็นร้อยละ 94.25

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 (ก.ค..-ก.ย.64) ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ สำนักงานเขตบางนา ชุมชน และสถานประกอบการในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย 160 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 160 คน รวม 2 กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย 365 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 344 คน คิดเป็นร้อยละ 94.25 และชดใช้เงินยืมใช้ในราชการเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(8) จำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและผู้เข้าร่วมกิจกรรม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
จำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดและผู้เข้าร่วมกิจกรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :94.25

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
94.25

0 / 0
4
94.25

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 (ต.ค.-ธ.ค.63) เสนอโครงการและและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการตามโครงการ และประชาสัมพันธ์ให้อาสาสมัครกรุงเทพฯ และประชาชนในชุมชนทราบเพื่อจะดำเนินกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 (ม.ค.-มี.ค.64) ประชาสัมพันธ์ให้อาสาสมัครกรุงเทพฯ และประชาชนในชุมชนทราบ และดำเนินกิจกรรมตามโครงการในวันที่ 21 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมบางนาภิรมย์ กลุ่มเป้าหมาย 205 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 184 คน อยู่ระหว่างการชดใช้เงินยืมใช้ในราชการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 (เม.ย..-มิ.ย.64) ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ทราบ ขอและดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ สำนักงานเขตบางนา ชุมชน และสถานประกอบการในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย 160 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 160 คน รวม 2 กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย 365 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 344 คน คิดเป็นร้อยละ 94.25

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 (ก.ค..-ก.ย.64) ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ในวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ สำนักงานเขตบางนา ชุมชน และสถานประกอบการในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย 160 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 160 คน รวม 2 กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย 365 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 344 คน คิดเป็นร้อยละ 94.25 และชดใช้เงินยืมใช้ในราชการเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(9) ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :10.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
10.00

0 / 0
3
10.00

0 / 0
4
10.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่ในเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่โดยเปลี่ยนแปลงจากเดือนธันวาคม และมีนาคม 2564 เป็นเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กำหนดอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่โดยเปลี่ยนแปลงจากเดือนธันวาคม และมีนาคม 2564 เป็นเดือนสิงหาคม-กันยายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ขออนุมัติยกเลิกโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ ตามหนังสือที่ กท 8404/325 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(10) ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :10.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
10.00

0 / 0
3
10.00

0 / 0
4
10.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่ในเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่โดยเปลี่ยนแปลงจากเดือนธันวาคม และมีนาคม 2564 เป็นเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กำหนดอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเขตปลอดบุหรี่โดยเปลี่ยนแปลงจากเดือนธันวาคม และมีนาคม 2564 เป็นเดือนสิงหาคม-กันยายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ขออนุมัติยกเลิกโครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ ตามหนังสือที่ กท 8404/325 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ

(11) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.00

100 / 100
2
4.00

0 / 0
3
4.00

0 / 0
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาม 2563 ดำเนินการจัดทำโครงการ และดำเนินการสำรวจตรวจสอบสภาพคลอง เพื่อกำหนดจุดที่จะดำเนินงานและจุดที่มีปัญหาอุปสรรคพร้อมสำรวจสิ่งปลูกสร้างริมคลองที่มีสภาพชำรุดทรุดโทรม เพื่อทำการซ่อมแซมแก้ไข หรือประสานหน่วยงานที่รับผิดชอบให้เข้าดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือนมกราคม 2564 - เดือนมีนาคม 2564 ดำเนินการดังนี้ 1.ประสานสำนักการระบายน้ำให้ซ่อมแซมแนวเขื่อนริมคลองเคล็ดบริเวณปลายซอยบางนา-ตราด 23 และแนวรั้วเหล็กกันตกบนสันเขื่อนที่ชำรุด ตามหนังสือที่ กท 8403/146 ลงวันที่ 13 มกราคม 2564 2.ประสานสำนักการจราจรและขนส่ง ขอความอนุเคราะห์ติดตั้งป้ายและเครื่องหมายจราจร ตามหนังสือที่ กท 8403/149 ลงวันที่ 18 มกราคม 2564 3.ประสาน ประธานหมู่บ้านรังสิยา ขอความอนุเคราะห์ทาสีแนวรั้วหมู่บ้านรังสิยาด้านริมคลองเคล็ด ตามหนังสือที่ กท 8403/190 ลงวันที่ 18 มกราคม 2564 4.ประสานแขวงทางหลวงสมุทรปราการ ขอความอนุเคราะห์ตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงสะพานข้ามคลองเคล็ด ตามหนังสือที่ กท 8403/271 ลงวันที่ 20 มกราคม 2564 5.ประสานศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 3 (ส่วน 1) ขอความอนุเคราะห์ปรับปรุงพื้นที่ ริมคลองเคล็ด ตามหนังสือที่ กท 8403/287 ลงวันที่ 21 มกราคม 2564 6.ประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานและกำหนดอัตลักษณ์ของพื้นที่ ณ จุดเช็คอิน 7.ประสานขอความอนุเคราะห์วาดภาพศิลปะบริเวณแนวรั้วและแนวผนังอาคารหมู่บ้านรังสิยาด้านริมคลองเคล็ด ตามหนังสือที่ กท8403/559 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 8. จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาทำความสะอาดปรับปรุงภูมิทัศน์คลองเฉลิมพระเกียรติคลองเคล็ด ในวันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ บริเวณคลองเคล็ด ซอยบางนา-ตราด 23 (จุดเช็คอิน) โดยทำความสะอาดและทาสีกำแพงรั้วและผนังอาคารหมู่บ้านรังสิยาฝั่งคลองเคล็ด มีความยาวประมาณ 160 เมตร และทำความสะอาดคลองโดยจัดเก็บวัชพืช รวมทั้งตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้บริเวณโดยรอบ 9.จัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการตัวชี้วัดเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 ครั้งที่ 2 เรื่อง การพัฒนาพื้นที่ตลอดแนวคลองเคล็ดตามความรับผิดชอบของสำนักงานเขตบางนาและสร้างจุดเช็คอิน (Check In) ในวันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 10.ประสานการไฟฟ้านครหลวง ขอติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะบริเวณริมคลองเคล็ด ที่ กท 8403/1367 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2564 11.ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือรักษาความสะอาดและสภาพแวดล้อมแนวคลองเคล็ด ตามหนังสือที่ กท 8401/1106 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือนเมษายน 2564 - เดือนมิถุนายน 2564 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์คลองเคล็ดและกำหนดกรอบการวาดภาพศิลปะแสดงอัตลักษณ์ของเขตบางนา วันที่ 1 เมษายน 2564 2. ดำเนินการรื้อย้ายต้นไม้ ดอกไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ เพื่อเตรียมดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณจุดเช็คอินริมคลองเคล็ด วันที่ 8 - 9 เมษายน 2564 3. ติดตามผลการประสานขอความอนุเคราะห์ปรับปรุงพื้นที่ริมคลองเคล็ดต่อศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 3 (ส่วน 1) ตามหนังสือที่ กท 8403/1894 ลงวันที่ 28 เมษายน 2564 4. ติดตามผลการประสานขอความอนุเคราะห์ติดตั้งป้ายและเครื่องหมายจราจรต่อสำนักการจราจรและขนส่ง ตามหนังสือที่ กท 8403/1893 ลงวันที่ 28 เมษายน 2564 5. ติดตามผลการแจ้งประสานการก่อสร้างและซ่อมแซมราวกันตกเขื่อนริมคลองเคล็ดต่อสำนักการระบายน้ำ ตามหนังสือที่ กท 8403/1892 ลงวันที่ 28 เมษายน 2564 6. ติดตามผลการประสานขอความอนุเคราะห์ตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงสะพานข้ามคลองเคล็ด ต่อแขวงทางหลวงสมุทรปราการ ตามหนังสือที่ กท 8403/1895 ลงวันที่ 28 เมษายน 2564 7. ติดตามผลการประสานขอความอนุเคราะห์ ขอติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะบริเวณริมคลองเคล็ดต่อการไฟฟ้านครหลวงเขตบางนา ตามหนังสือที่ กท 8403/1891 ลงวันที่ 28 เมษายน 2564 8.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ "ชาวบางนาร่วมใจ ไม่ทิ้งขยะลงคลอง ช่วยกันแยกช่วยกันลด เท่ากับหมดปัญหาขยะ" ตามโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณคลองเคล็ดตลอดแนวพื้นที่เขตบางนา 9. คณะผู้บริหารเขตบางนา เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่คลองเคล็ด เพื่อติดตามความก้าวหน้างานปรับปรุงภูมิทัศน์ และสร้างจุดเช็คอิน ตามตัวชี้วัดบูรณาการ พร้อมแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการเพื่อให้บรรลุตามแผนงานที่ได้วางไว้ 10. บริหารและจัดเก็บขยะริมคลอง จัดเก็บขยะและวัชพืชริมคลองเคล็ด พร้อมรณรงค์ให้ดูแลรักษาแหล่งน้ำ ไม่ให้ทิ้งขยะลงในคลอง 11. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ โครงการบางนา เมืองน่าอยู่ ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ตามตัวชี้วัดบูรณาการ 12. ลงพื้นที่ปรับปรุงภูมิทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน โดยดำเนินการทำความสะอาดปรับปรุงทางเดิน ปลูกไม้ดอกไม้ประดับสร้างจุดเช็คอิน และวาดภาพศิลปะแสดงอัตลักษณ์ของเขตบางนาบนกำแพงรั้วและผนังของหมู่บ้านรังสิยา ตามตัวชี้วัดบูรณาการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2564 ดำเนินการ ดังนี้ 1. วันที่ 9 กรกฎาคม 2564 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์คลองเฉลิมพระเกียรติคลองเคล็ด (ช่วงสะพานข้ามคลองซอยศรีนครินทร์ 56) เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยการทาสีขอบคันหิน แปลงต้นไม้ เทน้ำหมักชีวภาพ ทำความสะอาดพื้นที่ให้เกิดความสวยงาม 2. ติดตั้งกระแสไฟฟ้าและไฟส่องสว่างริมคลองเคล็ด (ช่วงสะพานข้ามคลองซอยศรีนครินทร์ 56) ดำเนินการโดยการไฟฟ้านครหลวง 3. ประสานสำนักการจราจรและขนส่ง ตามหนังสือที่ กท 8403/3009 ลงวันที่ 13 กรกฎาคม 2564 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณริมคลองเคล็ด (ช่วงสะพานข้ามคลองซอยศรีนครินทร์ 56) 4. วันที่ 11 สิงหาคม 2564 จัดกิจกรรมโครงการจิตอาสา รณรงค์ประชาสัมพันธ์ จุดเช็คอินคลองเฉลิมพระเกียรติคลองเคล็ด เนื่องในโอกาศวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง 12 สิงหาคม 2564 (วันแม่แห่งชาติ) โดยดำเนินการ - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาแหล่งน้ำ การคัดแยกขยะ การทำน้ำหมักชีวภาพ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมัน - เชิญชวนประชาชนร่วมกิจกรรมประกวดภาพถ่าย จุดเช็คอินคลองเคล็ด 5. สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร แจ้งกรณีขอความอนุเคราะห์ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณริมคลองเคล็ดว่าได้พิจารณาและรวบรวมรายชื่อจุดติดตั้งดังกล่าวในปีงบประมาณ 2565 แล้ว ตามหนังสือที่ กท 1604/2035 ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2564 6. วันที่ 13 กันยายน 2564 ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินการโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองเคล็ด พร้อมตรวจสอบและรักษาสภาพคลองเคล็ดบริเวณจุดเช็คอิน 7. วันที่ 14 กันยายน 2564 ปรับปรุงซ่อมแซมราวสะพานข้ามคลองเคล็ด โดยดำเนินการตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงและทาสีราวสะพาน 8. ประสานสำนักการจราจรและขนส่ง ตามหนังสือที่ กท 8403/3862 ลงวันที่ 17 กันยายน 2564 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ติดตั้งป้ายและเครื่องหมายจราจรบริเวณคลองเคล็ด (ช่วงสะพานข้ามคลองซอยศรีนครินทร์ 56) 9. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางนาแล้วเสร็จ 100%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตกและน้ำหลาก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตกและน้ำหลาก

หน่วยนับ :นาที

เป้าหมาย :120.00

ผลงาน :26.67


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(นาที)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
26.67

0 / 0
4
26.67

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาม 2563 ดำเนินการดังนี้ 1. ดำเนินการจัดเก็บกำจัดขยะมูลฝอยและวัชพืชผักตบชวา บริเวณคลองหลอด กม. 2 ช่วงซอยอุดมสุขแยก 42 แยก 2 จำนวน 34.75 2. โครงการจ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ ดำเนินการสำรวจ แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง,แต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตงาน โดยผู้มีอำนาจได้อนุมัติร่างขอบเขตงานและราคากลาง และอยู่ระหว่างจัดทำร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือนมกราคม 2564 - เดือนมีนาคม 2564 ดำเนินการ ดังนี้ 1. ประกาศร่างประกาศประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ และร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์พร้มประกาศร่าง TOR ตั้งแต่วันที่ 11 - 14 มกราคม 2564 2. บันทึกรายงานขอจ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ ตามหนังสือที่ กท 8403/48 ลงวันที่ 11 มกราคม 2564 3. รายงานผลการพิจารณาการปรับปรุงร่างประกาศประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์และร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ตามหนังสือที่ กท 8403/74 ลงวันที่ 15 มกราคม 2564 และอยู่ระหว่างประกาศประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ตั้งแต่วันที่ 19 -27 มกราคม 2564 ตามประกาศที่ 1/2564 ลงวันที่ 19 มกราคม 2564 4.คณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ตามที่มีผู้ยื่นข้อเสนอและเสนอราคาทางระบบการการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ปรากฏว่าผู้ยื่นเสนอราคาทุกราย มีคุณสมบัติถูกต้องครบถ้วนและได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ และผลการเสนอราคาตามใบเสนอราคาจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) จากระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผู้เสนอราคาที่ชนะการเสนอราคาได้แก่บริษัท 888 จำกัด เสนอราคาต่ำสุด เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 418,689.- บาท (สี่แสนหนึ่งหมื่นแปดพันหกร้อยแปดสิบเก้าบาทถ้วน) 5.ประกาศผู้ชนะเสนอราคา ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564 และอยู่ระหว่างร่างสัญญาเพื่อให้ผู้รู้กฎหมายตรวจสอบ 6.ลงนามสัญญา วันที่ 18 มีนาคม 2564 เลขที่สัญญา 22-7-64 สิ้นสุดสัญญาวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 และดำเนินการล้างทำความสะอาดจำนวน 2 ซอย 7.ดำเนินการเก็บกำจัดขยะมูลฝอยและวัชพืชผักตบชวา - บริเวณคลองหลอด กม. 3 ช่วงถนนเทพรัตนถึงคลองบางนา จำนวน 33 ตัน - บริเวณคูระบายน้ำท้ายซอยสุขุมวิท 68 จำนวน 17 ตัน - บริเวณคลองหลอด กม.2 ช่วงหลังโรงแรมเอวาน่าถึงคลองบางนา จำนวน 38 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือนเมษายน 2564 - เดือนมิถุนายน 2564 1. ดำเนินการเก็บกำจัดขยะมูลฝอย และวัชพืชผักตบชวา - บริเวณคลองหลอด กม.3 ช่วงถนนเทพรัตน ถึงซอยบางนา-ตราด 21 (ข้างห้างเซ็นทรัลบางนา) จำนวน 160 ตัน - บริเวณคูระบายน้ำข้างโรงงานแพรนด้าจิวเวลรี่ จำนวน 32 ตัน - บริเวณคูระบายน้ำหลังโรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์ (ส่วนเชื่อมคลอง กม. 3) จำนวน 16 ตัน 2. ผู้รับจ้างดำเนินการล้างทำความสะอาดจำนวน 52 ซอย สรุปผลน้ำท่วมขังบนถนนสายหลัก วันที่ 3 ตุลาคม 2563 เวลาฝนตก 23:00 น. ถึง 4 ตุลาคม 2563 เวลาฝนหยุด 06:00 น. 1.ถนนศรีนครินทร์ บริเวณหน้าวัดศรีเอี่ยม ระยะเวลาน้ำท่วมนับจากเวลาฝนหยุด 0 นาที (แห้งก่อนฝนหยุด) วันที่ 5 ตุลาคม 2563 เวลาฝนตก 01:00 น. เวลาฝนหยุด 08:00 น. 1. ถนนสุขุมวิท บริเวณคลองบางนา-สุดเขต ระยะเวลาน้ำท่วมนับจากเวลาฝนหยุด 0 นาที (แห้งก่อนฝนหยุด) 2. ถนนสุขุมวิท บริเวณแยกบางนาขาออก ระยะเวลาน้ำท่วมนับจากเวลาฝนหยุด 50 นาที วันที่ 19 พฤษภาคม 2564 เวลาฝนตก 17:40 น. ถึง 20 พฤษภาคม 2564 เวลาฝนหยุด 01:10 น. 1. ถนนสุขุมวิท บริเวณเเยกบางนา-ไบเทค ระยะเวลาน้ำท่วมนับจากเวลาฝนหยุด 110 นาที วันที่ 28 มิถุนายน 2564 เวลาฝนตก 16:15 น. เวลาฝนหยุด 22:00 น. 1. ถนนศรีนครินทร์ บริเวณวัดศรีเอี่ยมขาออก ระยะเวลาน้ำท่วมนับจากเวลาฝนหยุด 0 นาที (แห้งก่อนฝนหยุด) 2. ถนนศรีนครินทร์ บริเวณวัดศรีเอี่ยมขาเข้า ระยะเวลาน้ำท่วมนับจากเวลาฝนหยุด 0 นาที (แห้งก่อนฝนหยุด) สรุป สามารถระบายน้ำเข้าสู่สภาวะปกติได้เฉลี่ย = (0+0+50+110+0+0)/6 = 26.67 นาที

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2564 ดำเนินการเก็บกำจัดขยะมูลฝอย และวัชพืชผักตบชวา - บริเวณคลองหลอด กม. 3 จำนวน 20 ตัน - บริเวณคูระบายน้ำท้ายซอยสุขุมวิท 68 จำนวน 13 ตัน - บริเวณคลองเคล็ดช่วงซอยอุดมสุข 60 จำนวน 16 ตัน สรุปผลน้ำท่วมขังบนถนนสายหลัก -ไม่มีรายงานสรุปน้ำท่วมขังบนถนนสายหลักในพื้นที่เขตบางนา สามารถระบายน้ำเข้าสู่สภาวะปกติได้เฉลี่ย 0 นาที

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - สิ่งก่อสร้างปลอดภัย

(13) ร้อยละความสำเร็จของโครงการพัฒนาสำคัญด้านโครงสร้างพื้นฐาน
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑ กรุงเทพมหานครมีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ ปลอดจากอุบัติภัยจาก สิ่งปลูกส
ร้อยละความสำเร็จของโครงการพัฒนาสำคัญด้านโครงสร้างพื้นฐาน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
30.00

0 / 0
3
50.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปรับปรุงซอยแยกซอยลาซาล 24 เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาม 2563 ดำเนินการดังนี้ 1. แต่งตั้้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง ตามหนังสือที่ กท 8403/1183 ลงวันที่ 22 กันยายน 2563 2. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ดำเนินการคำนวณราคากลางในระบบ e-GP และจัดทำบันทึกรายงานผลการกำหนดราคากลาง ,ตรวจร่างสัญญา และอยู่ระหว่างรออนุมัติเงินประจำงวด สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ปรับปรุงซอยแยกแบริ่ง 39 และซอยลาซาล 52 จากปากซอยถึงสุดทางสาธารณะ เดือนตุลาคม 2563 - เดือนธันวาม 2563 ดำเนินการดังนี้ 1. แต่งตั้้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง ตามหนังสือที่ กท 8403/1184 ลงวันที่ 22 กันยายน 2563 2. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ดำเนินการคำนวณราคากลางในระบบ e-GP และจัดทำบันทึกรายงานผลการกำหนดราคากลาง,ตรวจร่างสัญญา และอยู่ระหว่างรออนุมัติเงินประจำงวด สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปรับปรุงซอยแยกซอยลาซาล 24 เดือน มกราคม 2564 - เดือน มีนาคม 2564 ดำเนินการดังนี้ 1. สัญญาเลขที่ 22-5-64 ลงวันที่ 14 มกราคม 2564 สิ้นสุดสัญญา 14 เมษายน 2564 ( 90 วัน) ผู้รับจ้างบริษัท อินไซค์ คอนสตรัคชั่น จำกัด ราคา 1,895,800.- บาท อยู่ระหว่าง -วางบ่อพักท่อระบายน้ำ -เทรางวี -เทถนนคอนกรีต ปรับปรุงซอยแยกแบริ่ง 39 และซอยลาซาล 52 จากปากซอยถึงสุดทางสาธารณะ เดือนมกราคม 2564 ถึงเดือน มีนาคม 2564 ดำเนินการดังนี้ 1. สัญญาเลขที่ 22-6-64 ลงวันที่ 20 มกราคม 2564 สิ้นสุดสัญญา 19 มิถุนายน 2564 ( 150 วัน) ผู้รับจ้างบริษัท รัชรส จำกัด จำนวนเงิน 5,229,100.-บาท อยู่ระหว่าง -เช็คระดับ -วางท่อระบายน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานประจำเดือน ่เมษายน 2564 ถึง มิถุนายน 2564 ตามรายการต่อไปนี้ ปรับปรุงซอยแยกซอยลาซาล 24 ดำเนินการเรียบร้ยแล้ว ปรับปรุงซอยแยกแบริ่ง 39 และซอยลาซาล 52 จากปากซอยถึงสุดทางสาธารณะ 1. เห็นชอบ ตามหนังสือที่ กท 8403/1345 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2563 2. อนุมัติ ตามหนังสือที่ กท 8403/1563 ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 3. สัญญาเลขที่ 22-6-64 ลงวันที่ 20 มกราคม 2564 สิ้นสุดสัญญา วันที่ 19 มิถุนายน 2564 ( จำนวน 150 วัน) บริษัท รัธรส จำกัด เป็นผู้รับจ้างเหมาก่อสร้าง จำนวนเงิน 5,229,100.-บาท อยู่ระหว่างการดำเนินการดำเนินงานดังนี้ 1. วางบ่อพักท่อระบายน้ำ 2. สร้างรางวี ค.ส.ล.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานประจำเดือน กรกฎาคม 2564 ถึง กันยายน 2564 ตามรายการต่อไปนี้ ปรับปรุงซอยแยกซอยลาซาล 24 ดำเนินการเรียบร้ยแล้ว ปรับปรุงซอยแยกแบริ่ง 39 และซอยลาซาล 52 จากปากซอยถึงสุดทางสาธารณะ ดำเนินการเบิกจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)

(14) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ค่าเปอร์เซ็นไทล์

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :54.81

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ค่าเปอร์เซ็นไทล์)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
32.30

100 / 100
2
46.59

0 / 0
3
48.64

0 / 0
4
54.81

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2563 ผู้ป่วยจำนวน 48 คน อัตราการป่วย 53.259 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อย 29.115 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 68 คน อัตราการป่วย 76.80 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อย 46.59 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-มิถุนายน 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 71 คน อัตราการป่วย 80.19 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อยละ 48.64 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-กันยายน 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 80 คน อัตราการป่วย 90.36 ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ 54.81ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 )

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(15) ร้อยละสถานประกอบการ อาคาร สถานที่ได้รับการตรวจด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละสถานประกอบการ อาคาร สถานที่ได้รับการตรวจด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00

100 / 100
2
43.21

0 / 0
3
83.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินงานตรวจไปแล้วร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินงานตรวจไปแล้วร้อยละ 43.21 - ตรวจสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือสถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูง จำนวน 350 แห่ง จากทั้งหมด 810 แห่ง ผลการตรวจผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินงานตรวจไปแล้วร้อยละ 83 - ตรวจสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือสถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูง จำนวน 673 แห่ง จากทั้งหมด 810 แห่ง ผลการตรวจผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินงานตรวจไปแล้วร้อยละ 100 - ตรวจสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือสถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูง จำนวน 810 แห่ง จากทั้งหมด 810 แห่ง ผลการตรวจผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ค่าเปอร์เซ็นไทล์

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :54.81


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ค่าเปอร์เซ็นไทล์)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
32.30

100 / 100
2
46.59

0 / 0
3
48.64

0 / 0
4
54.81

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2563 ผู้ป่วยจำนวน 48 คน อัตราการป่วย 53.259 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อย 29.115 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 68 คน อัตราการป่วย 76.80 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อย 46.59 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-มิถุนายน 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 71 คน อัตราการป่วย 80.19 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อยละ 48.64 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-กันยายน 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 80 คน อัตราการป่วย 90.36 ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ 54.81ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 )

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(17) ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
5.00

0 / 0
3
5.00

0 / 0
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ณ เดือนธันวาคม 2563 - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ ๑๐๐ (ส่งเสริมฯ สถานประกอบการอาหารที่มีใบอนุญาต ) - สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาต อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจสอบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ณ เดือน มีนาคม 2564 1.สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ ๑๐๐(ส่งเสริมฯสถานประกอบการอาหารที่มีใบอนุญาต) 2.สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาต -เดือน มกราคม 2564 จำนวน 35 ราย ตรวจ 11 ราย -เดือน กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 35 ราย ตรวจ 15 ราย -เดือน มีนาคม 2564 จำนวน 38 ราย(เพิ่ม) ตรวจ 3 ราย รวม 3 เดือน จำนวน 38 ราย ตรวจ 29 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.31

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ณ เดือน มิถุนายน 2564 1.สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 (ส่งเสริมฯสถานประกอบการอาหารที่มีใบอนุญาต) 2.สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาต -เดือน เมษายน 2564 จำนวน 38 ราย ตรวจ 9 ราย -เดือน พฤษภาคม 2564 จำนวน 30 ราย (ลด) ตรวจ 11 ราย -เดือน มิถุนายน 2564 จำนวน 30 ราย(เพิ่ม) ตรวจ 5 ราย รวม 3 เดือน จำนวน 30 ราย ตรวจ 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.33

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ณ เดือน กันยายน 2564 1.สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 (ส่งเสริมฯ สถานประกอบการอาหารที่มีใบอนุญาต) 2.สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาต จำนวน 30 ราย ได้ผ่านการตรวจครบทั้ง 30 ราย แล้ว คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(18) จำนวนถนนสายหลักได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์
[มิติที่ 1 : ]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
จำนวนถนนสายหลักได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์

หน่วยนับ :สาย

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(สาย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดเจ้าหน้าที่กวดขันดูแลตรวจตราผู้ฝ่าฝืนจำหน่ายสินค้า ขับรถจอดบนทางเท้า การติดตั้งป้ายโฆษณาในที่สาธารณะ ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของระบบสาธารณูปโภค ตัดแต่งต้นไม้ ล้างทำความสะอาดถนน ทางเท้า สะพานลอยคนข้าม ของถนนสุขุมวิทและถนนสรรพาวุธ ตามมาตรการ 16 ข้อ ดังนี้ 1.ไม่มีการจอดหรือขับรถบนทางเท้า 2.ไม่มีหาบเร่-แผงลอยที่ผิดกฎหมาย 3.ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 4.ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย 5.ไม่มีการตั้งวางกระถางต้นไม้หรือสิ่งใดๆบนทางเท้า 6.ปรับปรุง/เพิ่มเติม ป้ายเครื่องหมาย สัญญาณจราจร ไฟสัญญาณจราจร และทาสีขอบทางเท้าให้ชัดเจน 7.สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมในจุดที่ยังไม่เพียงพอและตรวจสอบสภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 8.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวจราจรที่ชำรุด 9.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุดเป็นหลุมบ่อ 10.ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 11.ตรวจไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ หากชำรุดเสียหายต้องแก้ไขให้ใช้การได้ และติดตั้งเพิ่มเติมในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ 12.ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่น 13.ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รก หรือเป็นจุดอับตา 14.จัดระเบียบความเรียบร้อยของสายสื่อสารริมทาง 15.ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 16.ทำความสะอาดสะพานลอย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดเจ้าหน้าที่กวดขันดูแลตรวจตราผู้ฝ่าฝืนจำหน่ายสินค้า ขับรถจอดบนทางเท้า การติดตั้งป้ายโฆษณาในที่สาธารณะ ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของระบบสาธารณูปโภค ตัดแต่งต้นไม้ ล้างทำความสะอาดถนน ทางเท้า สะพานลอยคนข้าม ของถนนสุขุมวิทและถนนสรรพาวุธ ตามมาตรการ 16 ข้อ ดังนี้ 1.ไม่มีการจอดหรือขับรถบนทางเท้า 2.ไม่มีหาบเร่-แผงลอยที่ผิดกฎหมาย 3.ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 4.ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย 5.ไม่มีการตั้งวางกระถางต้นไม้หรือสิ่งใดๆบนทางเท้า 6.ปรับปรุง/เพิ่มเติม ป้ายเครื่องหมาย สัญญาณจราจร ไฟสัญญาณจราจร และทาสีขอบทางเท้าให้ชัดเจน 7.สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมในจุดที่ยังไม่เพียงพอและตรวจสอบสภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 8.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวจราจรที่ชำรุด 9.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุดเป็นหลุมบ่อ 10.ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 11.ตรวจไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ หากชำรุดเสียหายต้องแก้ไขให้ใช้การได้ และติดตั้งเพิ่มเติมในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ 12.ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่น 13.ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รก หรือเป็นจุดอับตา 14.จัดระเบียบความเรียบร้อยของสายสื่อสารริมทาง 15.ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 16.ทำความสะอาดสะพานลอย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดเจ้าหน้าที่กวดขันดูแลตรวจตราผู้ฝ่าฝืนจำหน่ายสินค้า ขับรถจอดบนทางเท้า การติดตั้งป้ายโฆษณาในที่สาธารณะ ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของระบบสาธารณูปโภค ตัดแต่งต้นไม้ ล้างทำความสะอาดถนน ทางเท้า สะพานลอยคนข้าม ของถนนสุขุมวิทและถนนสรรพาวุธ ตามมาตรการ 16 ข้อ ดังนี้ 1.ไม่มีการจอดหรือขับรถบนทางเท้า 2.ไม่มีหาบเร่-แผงลอยที่ผิดกฎหมาย 3.ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 4.ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย 5.ไม่มีการตั้งวางกระถางต้นไม้หรือสิ่งใดๆบนทางเท้า 6.ปรับปรุง/เพิ่มเติม ป้ายเครื่องหมาย สัญญาณจราจร ไฟสัญญาณจราจร และทาสีขอบทางเท้าให้ชัดเจน 7.สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมในจุดที่ยังไม่เพียงพอและตรวจสอบสภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 8.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวจราจรที่ชำรุด 9.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุดเป็นหลุมบ่อ 10.ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 11.ตรวจไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ หากชำรุดเสียหายต้องแก้ไขให้ใช้การได้ และติดตั้งเพิ่มเติมในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ 12.ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่น 13.ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รก หรือเป็นจุดอับตา 14.จัดระเบียบความเรียบร้อยของสายสื่อสารริมทาง 15.ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 16.ทำความสะอาดสะพานลอย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดเจ้าหน้าที่กวดขันดูแลตรวจตราผู้ฝ่าฝืนจำหน่ายสินค้า ขับรถจอดบนทางเท้า การติดตั้งป้ายโฆษณาในที่สาธารณะ ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของระบบสาธารณูปโภค ตัดแต่งต้นไม้ ล้างทำความสะอาดถนน ทางเท้า สะพานลอยคนข้าม ของถนนสุขุมวิทและถนนสรรพาวุธ ตามมาตรการ 16 ข้อ ดังนี้ 1.ไม่มีการจอดหรือขับรถบนทางเท้า 2.ไม่มีหาบเร่-แผงลอยที่ผิดกฎหมาย 3.ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 4.ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย 5.ไม่มีการตั้งวางกระถางต้นไม้หรือสิ่งใดๆบนทางเท้า 6.ปรับปรุง/เพิ่มเติม ป้ายเครื่องหมาย สัญญาณจราจร ไฟสัญญาณจราจร และทาสีขอบทางเท้าให้ชัดเจน 7.สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมในจุดที่ยังไม่เพียงพอและตรวจสอบสภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 8.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวจราจรที่ชำรุด 9.ปรับปรุง/ซ่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุดเป็นหลุมบ่อ 10.ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 11.ตรวจไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ หากชำรุดเสียหายต้องแก้ไขให้ใช้การได้ และติดตั้งเพิ่มเติมในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ 12.ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่น 13.ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รก หรือเป็นจุดอับตา 14.จัดระเบียบความเรียบร้อยของสายสื่อสารริมทาง 15.ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 16.ทำความสะอาดสะพานลอย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(19) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
60.00

100 / 100
2
70.00

0 / 0
3
90.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น (เป้าหมายร้อยละ 100) 1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวน (20,304 ตรม. คิดเป็น 12 ไร่ 2 งาน 76 ตารางวา) 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวน (12 แห่ง/ปี) ไตรมาสที่ 1 1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวน (20,304 ตรม. คิดเป็น 12 ไร่ 2 งาน 76 ตารางวา) ผลการดำเนินการ ทำได้ 12 ไร่ 2 งาน 76 ตรว. = 100 % - เดือนตุลาคม 2563 1.สวนหย่อมบึงในฝันสวรรค์บางนา ขนาดพื้นที่ 11 ไร่ 3 งาน 76 ตรว. - เดือนพฤศจิกายน 2563 2.สวนหย่อมริมคลองเคล็ด (ฝั่งร้านอบอร่อย) ซ.บางนา-ตราด 23 ขนาดพื้นที่ 1 งาน - เดือนธันวาคม 2563 3.สวนหย่อมริมคลองเคล็ด (ฝั่งไปอุดมสุข) ซ.บางนา- ตราด 23 ขนาดพื้นที่ 2 งาน 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวน (12 แห่ง/ปี) ผลการดำเนินการ - เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2653 อยู่ระหว่างสำรวจพื้นที่ = 0 % 3.การปรับปรุงพื้นที่สีเขียวเดิม งบประมาณที่ได้รับจัดสรร เป็นเงิน 1,100,000.-บาท - ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ขั้นตอนจัดทำร่างเอกสาร ประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) (ประกาศราคากลาง 18 ธันวาคม 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 1.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวน (12 แห่ง/ปี) ผลการดำเนินการ สำรวจได้ จำนวน 6 แห่ง =50% - เดือนมกราคม 2564 1.สนามฟุตซอลแฟลตการเคหะบางนา 2.สนามฟุตซอลโรงเรียนนานาชาติ เซ็นต์แอนด์ดรู สุขุมวิท - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 3.สนามฟุตซอลซอยลาซาล 20 4.ที่ว่างด้านหลังหมู่บ้านนภาลัย - เดือนมีนาคม 2564 5.ที่ว่างบริเวณสุขุมวิท 103/2 สุขุมวิท (ขาออก) 6.ที่ว่างบริเวณตรงข้ามซอยสุขุมวิท 70/1 2.การปรับปรุงพื้นที่สีเขียวเดิม วงเงินที่ชนะการเสนอราคา เป็นเงิน 568,750.-บาท - ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ขั้นตอนผ่านการตรวจร่างสัญญา เรียบร้อยแล้ว รออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาสที่ 3 1.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวน (12 แห่ง/ปี) ผลการดำเนินการ สำรวจได้ จำนวน 6 แห่ง รวมเป็น 12 แห่ง = 100% - เดือนเมษายน 2564 1.ที่ว่างตรงข้ามบ้านเลขที่ 66 ซอยบางนา-ตราด 48 2.ที่ว่างข้างบ้านเลขที่ 66 ซอยบางนา-ตราด 48 3.ที่ว่างข้างบ้านเลขที่ 98 ซอยบางนา-ตราด 48 4.ที่ว่างตรงข้ามโอเวชั่นสตูดิโอ ซอยบางนา-ตราด 48 5.ที่ว่างซอยบางนา-ตราด 40 6.ที่ว่างข้างบ้านเลขที่ 6079 ซอยบางนา-ตราด 40 2.การปรับปรุงพื้นที่สีเขียวเดิม - ในส่วนของการจัดซื้อจัดจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุครบถ้วน ถูกต้อง และดำเนินการเบิกจ่าย 100% - ดำเนินการปรับปรุงพื้นที่ ปรับหน้าดิน ปลูกต้นทองอุไร ปลูกต้นเฟื่องฟ้าด่าง ปลูกต้นชาฮกเกี้ยน (บางส่วน) บริเวณเกาะกลางถนนลาซาล (ระหว่างซอยลาซาล 21 ถึงซอยลาซาล 35)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาสที่ 4 การปรับปรุงพื้นที่สีเขียวเดิม - ดำเนินการปลูกต้นทองอุไร ปลูกต้นเฟื่องฟ้าด่าง ปลูกต้นชาฮกเกี้ยน บริเวณเกาะกลางถนนลาซาล ตั้งแต่ซอยลาซาล 35 ถึงแยกศรีลาซาล - ดำเนินการลงทราย ปูหญ้า บริเวณเกาะกลางถนนลาซาลตลอดแนว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๑ - มหานครกรุงเทพแบบบูรณาการ

(20) ระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายประชาสังคมเขตเพื่อร่วมผลักดันการพัฒนาพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๕.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีองค์การบริหารจัดการระบบสาธารณูปโภคมหานคร
ระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายประชาสังคมเขตเพื่อร่วมผลักดันการพัฒนาพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
4.00

0 / 0
3
4.00

0 / 0
4
5.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำโครงการแล้วและอยู่ระหว่างขั้นตอนการประสานเครือข่ายประชาสังคมในพื้นที่เขตบางนาเพื่อกำหนดประเด็นสำคัญในการพัฒนาพื้นที่เขตบางนาต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการประชุมเครือข่ายประชาสังคมตามทะเบียนบัญชีประชาคมเขตที่ได้จัดทำไว้ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2564 เพื่อกำหนดประเด็นสำคัญในการพัฒนาเมือง 2. ตั้งกลุ่มไลน์เครือข่ายประชาสังคมเพื่อการพัฒนาพื้นที่เขตบางนา 3. ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา ในกิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาถนนเฉลิมพระเกียรติ (ถนนสรรพาวุธ)โดยได้ร่วมกันทำกิจกรรมทาสีจราจร ขอบทางเท้า ถนนสรรพาวุธตลอดทั้งเส้น ให้พื้นที่เขตบางนามีความสวยงาม สร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนผู้ใช้เส้นทางในการสัญจรไป-มา 4. วันพุธที่ 17 มีนาคม 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา ร่วมกันทำกิจกรรมทำงานบริการสังคมแบบกลุ่ม โดยได้ร่วมกันทำกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบบึงในฝัน สวรรค์บางนา และการจัดเตรียมแปลงเกษตรบริเวณสวนเกษตร เขตบางนา ด้วยการเก็บขยะ กำจัดวัชพืช เพื่อความสวยงาม และปลอดภัยในพื้นที่ อีกทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตสาธารณะต่อสังคม 5. วันศุกร์ที่ 19 มีนาคม 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา ในกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” พัฒนาทำความสะอาดปรับปรุงภูมิทัศน์วัดศรีเอี่ยม โดยได้ร่วมกันทำกิจกรรมทำความสะอาดอุโบสถสองชั้น ทั้งภายในอุโบสถและบริเวณโดยรอบ ด้วยการปัด กวาด เช็ด ถู ล้างพื้น บันได ราวเหล็ก กระจก ผนังกำแพง รวมทั้งตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้บริเวณโดยรอบ เพื่อรองรับพุทธศาสนิกชนที่มาทำบุญ และประกอบศาสนกิจต่าง ๆ ภายในวัดศรีเอี่ยม 6. สำนักงานเขตบางนา เตรียมดำเนินการเชิญภาคประชาสังคมอื่นๆ เข้าร่ามเป็นประชาคมเขต เพิ่มเติมจากเดิม เพื่อให้การพัฒนาเชิงพื้นที่กว้างขวางมากขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตบางนา ดำเนินกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 1. วันพุธที่ 31 มีนาคม 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา ในกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” พัฒนาคลองหลอด กม. 3 ถนนเทพรัตน โดยร่วมกันทำกิจกรรมจัดเก็บขยะวัชพืช ตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้ ริมคลอง เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลองและบริเวณโดยรอบให้มีความสวยงาม สะอาดและปลอดภัยแก่ประชาชน 2. วันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา ในกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” พัฒนาทำความสะอาดปรับปรุงภูมิทัศน์ลานกีฬาชุมชนเคหะบางนา 2 โดยร่วมกันทำกิจกรรมล้างพื้นสนาม เช็ดทำความสะอาดเครื่องออกกำลังกาย จัดเก็บขยะ ตัดแต่งกิ่งไม้ เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม สะอาดตา และมีความปลอดภัยสำหรับประชาชนที่มาใช้บริการ 3. วันจันทร์ที่ 5 เมษายน 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา ในกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” พัฒนาทำความสะอาดปรับปรุงภูมิทัศน์วัดผ่องพลอยวิริยาราม โดยร่วมกันทำกิจกรรมทำความสะอาดอุโบสถและบริเวณโดยรอบ ด้วยการปัดกวาด เช็ดถู ล้างพื้น บันได ราวเหล็ก กระจก ผนังกำแพง ตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้บริเวณโดยรอบ จัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ และล้างทำความสะอาดจุดทิ้งขยะ เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม สะอาดตา ให้พร้อมรองรับพุทธศาสนิกชนที่มาทำบุญ และประกอบศาสนกิจต่าง ๆ 4. ดำเนินการเชิญภาคประชาสังคมอื่นๆ เข้าร่ามเป็นประชาคมเขต หนังสือสำนักงานเขตบางนา ที่ กท 8401/1812 ลว.22 เมษยน 2564 และ ที่ กท8401/1869 ลว.27 เม.ย.64 5. มีหน่วยงานตอบรับเข้าร่วมเป็นประชาคมเขต เพิ่มเติมจาก ปี 63 จำนวน 3 หน่วยงาน หมายเหตุ : ปัจจุบันชะลอการดำเนินกิจกรรมร่วมกับประชาคม เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สำนักงานเขตบางนา ดำเนินกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2564 สำนักงานเขตบางนาและเครือข่ายประชาสังคมร่วมกันพัฒนาพื้นที่เขตบางนา จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์คลองเฉลิมพระเกียรติ คลองเคล็ด (ช่วงสะพานข้ามคลอง ซอยศรีนครินทร์ 56) โดยการทาสีราวสะพาน ฟุตบาทบริเวณสะพาน ขอบทางเดินคันหินแปลงต้นไม้ เทน้้ำหมักชีวภาพ เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ให้มีความสวยงาม สร้างความปลอดภัยและลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน โดยจำกัดผู้เข้าร่วมกิจกรรมจุดละไม่เกิน 20 คน (ดำเนินการพร้อมกัน 3 จุด) ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดให้ผู้อำนวยการเขตบางนาทราบ ตามหนังสือสำนักงานเขตบางนา ที่ 8401/210 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2564 3. ส่งผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลทราบ ตามหนังสือสำนักงานเขตบางนา ที่ กท 8401/3450 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(21) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชน
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชน

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
1.00

0 / 0
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนในพื้นที่เขตบางนา โดยสำนักงานเขตบางนา ได้จัดงานลอยกระทง ประจำปี 2563 ในวันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม 2563 ตั้งแต่เวลา 16.00 น. เป็นต้นไป ณ บึงในฝัน สวรรค์บางนา สำนักงานเขตบางนา เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เขตบางนาและประชาชนทั่วไปร่วมรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นประเพณีที่ดีงามของชาวไทยที่สืบทอดมาช้านาน เป็นการส่งเสริมให้เกิดความรัก สามัคคี และเห็นคุณค่าความสำคัญของประเพณีลอยกระทง ส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้า กิจกรรมภายในงานประกอบด้วย การประกวดส้มตำลีลา การประกวดเทพีสูงวัย กิจกรรมสอนทำกระทงจากใบตอง การแสดงนิทรรศการภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตบางนา การแสดงสินค้าชุมชน มีผู้เข้าร่วมงาน 400 คน ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ คิดเป็นร้อยละ 83.33 (กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม 100 คน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนในพื้นที่เขตบางนา ครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายน - กันยายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

วางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนในพื้นที่เขตบางนา ครั้งที่ 2 ในเดือนกรกฏาคม - กันยายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดงานส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชน เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2564 เพื่อประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมให้ “คลองเคล็ด” เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของเขตบางนา และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตบางนา ได้แก่ สินค้า OTOP , Bangkok Brand และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยคนในชุมชน เพื่อเป็นการยกระดับ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ และเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป กิจกรรมภายในงานประกอบด้วย พิธีเปิดงานส่งเสริมการท่องเที่ยว “คลองเคล็ด” การประกวดถ่ายภาพ “คลองเคล็ด โดนใจ” และการจัดจำหน่ายสินค้าชุมชน มีผู้เข้าร่วมงาน 127 คน ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ คิดเป็นร้อยละ 82.92 (กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม 58 คน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(22) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :98.80

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
26.43

100 / 100
2
56.20

0 / 0
3
70.40

0 / 0
4
98.80

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการรายงานโครงการงานประจำ 35 โครงการ ดำเนินการได้ในช่วงร้อยละ 10-60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการรายงานโครงการงานประจำ 35 โครงการ ดำเนินการได้ในช่วงร้อยละ 25-100 แล้วเสร็จ จำนวน 3 โครงการ ยกเลิก จำนวน 2 โครงการ เนื่องจากสถานการณ์ COVID -19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการรายงานโครงการงานประจำ 35 โครงการ ดำเนินการได้ในช่วงร้อยละ 35-100 แล้วเสร็จ จำนวน 5 โครงการ ยกเลิก จำนวน 2 โครงการ เนื่องจากสถานการณ์ COVID -19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลการรายงานโครงการงานประจำ 35 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 25 โครงการ ดำเนินการได้ในช่วงร้อยละ 85 -100 ยกเลิก จำนวน 10 โครงการ เนื่องจากสถานการณ์ COVID -19

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(23) ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้
[มิติที่ 1 : ]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :293.90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.70

100 / 100
2
3.82

0 / 0
3
134.71

0 / 0
4
293.90

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประมาณการที่สำนักการคลังกำหนด = 175,000,000.- บาท ราชกิจจานุเบกษาประกาศลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 90% ดังนั้น ประมาณการที่สำนักงานเขตต้องจัดเก็บ = 17,500,000.- บาท จัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 17 ธันวาคม 2563 ได้ทั้งสิ้น = 646,937.77 คิดเป็นร้อยละ 3.70

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประมาณการที่สำนักการคลังกำหนด = 175,000,000.- บาท ราชกิจจานุเบกษาประกาศลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 90% ดังนั้น ประมาณการที่สำนักงานเขตต้องจัดเก็บ = 17,500,000.- บาท จัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563- 25 มีนาคม 2564 ได้ทั้งสิ้น = 668,835.67 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.82

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประมาณการที่สำนักการคลังกำหนด = 175,000,000.- บาท ราชกิจจานุเบกษาประกาศลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 90% ดังนั้น ประมาณการที่สำนักงานเขตต้องจัดเก็บ = 17,500,000.- บาท จัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 22 มิถุนายน 2564 ได้ทั้งสิ้น = 23,573,562.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 134.71

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ประมาณการที่สำนักการคลังกำหนด = 175,000,000.- บาท ราชกิจจานุเบกษาประกาศลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 90% ดังนั้น ประมาณการที่สำนักงานเขตต้องจัดเก็บ = 17,500,000.- บาท จัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 27 กันยายน 2564 ได้ทั้งสิ้น = 51,432,270.76 บาท คิดเป็นร้อยละ 293.90

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด