รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย : 0700-0787

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 90

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 95.27

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
95.27
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ในระหว่างรอการจัดสรรวัคซีนไข้หวัดใหญ่ของกลุ่มเป้าหมาย ในช่วงเดือน พ.ค. - มิ.ย. 2563 จากสปสช.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างรอการสนับสนุนวัคซีนจาก สปสช.และกรมควบคุมโรค

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับการจัดสรรวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคลากรสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง จำนวน 1,400 dose โรงพยาบาลตากสิน จำนวน 1,000 dose โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 1,000 dose โรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 700 dose และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จำนวน 300 dose และยังมีโรงพยาบาลในสังกัดยังไม่ได้รับการจัดสรรในรอบนี้ เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขมีจำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ไม่เพียงพอ และอาจจะพิจารณาดำเนินการจัดซื้อต่อไป ส่วนวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชน อยู่ระหว่างการให้บริการกับประชาชนกลุ่มเสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สปสช. สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. บุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ได้แก่ - แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ในโรงพยาบาลทั้งที่ทำงานในหอผู้ป่วย และตึกผู้ป่วยนอก รวมถึงนักศึกษาฝึกงานในแต่ละวิชาชีพ - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ทำหน้าที่ในการสอบสวนควบคุมโรค - เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทำลายซากสัตว์ปีก และสัตว์อื่นที่สงสัยติดเชื้อ ไข้หวัดนก - เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย - หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป - เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน - ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน - บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน - ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ - ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) - โรคอ้วน (น้าหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ โดยได้มีผลการดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,281 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 4,891 Dose - คิดเป็นร้อยละ 87.53 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,591 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 4,873 Dose - คิดเป็นร้อยละ 94.21 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 5,191 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 5,191 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,331 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,331 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,427 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,520 Dose - คิดเป็นร้อยละ 93.88 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,620 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,620 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,573 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 5,002 Dose - คิดเป็นร้อยละ 91.42 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 3,990 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 3,994 Dose - คิดเป็นร้อยละ 99.90 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,300 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,300 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 10. โรงพยาบาลคลองสามวา - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 35 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 35 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการให้บริการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ ซึ่งอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 28,374 ราย จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 29,792 Dose คิดเป็นร้อยละ 95.24

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ หมายถึง วัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากสปสช. สำหรับประชาชน กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง 1. บุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัส โรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล และไข้หวัดนก ซึ่งบุคลากรกลุ่มนี้อาจเป็นผู้แพร่โรคต่อไปยังผู้มีความเสี่ยงต่อโรคสูง และ/หรือเป็นผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลและไข้หวัดนกพร้อมๆ กัน ซึ่งอาจก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนกได้ ได้แก่ - แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ในโรงพยาบาลทั้งที่ทำงานในหอผู้ป่วย และ ตึกผู้ป่วยนอก รวมถึงนักศึกษาฝึกงานใน แต่ละวิชาชีพ - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ทำหน้าที่ในการสอบสวนควบคุมโรค - เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทำลายซาก สัตว์ปีก และสัตว์อื่นที่สงสัยติดเชื้อ ไข้หวัดนก - เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย - หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์4 เดือนขึ้นไป - เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน - ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน - บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน - ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ - ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) - โรคอ้วน (น้าหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ หารด้วย จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. (Dose) คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง