ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2:
อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อสำเร็จจากศูนย์บริการสาธารณสุขมารับบริการรักษาใน รพ.สังกัดสำนักการแพทย์
-. โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาระบบส่งต่อระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการ เป็นการสร้างมาตรฐานบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 99,172 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 99,172 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100
-สาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 45,223 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 45,223 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100
- โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาระบบส่งต่อระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการ เป็นการสร้างมาตรฐานบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1.โรงพยาบาลกลาง - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 26,130 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 26,130 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 2.โรงพยาบาลตากสิน - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 81,443 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 81,443 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 121,613 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 121,613 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 128 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 128 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 12,203 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 12,203 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 230 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 230 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 146 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 146 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับ ร้อยละ 100 8.โรงพยาบาลสิรินธร - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 73,359 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 73,359 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับ ร้อยละ 100 - สรุปในภาพรวมศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 315,252 ราย และโรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จำนวน 315,252 ราย สรุปคิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อผู้ป่วยร้อยละ 100
ความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลกับศูนย์บริการสาธารณสุข หมายถึง ศูนย์บริการสาธารณสุขสามารถ ส่งตัวผู้ป่วยมารับบริการรักษาต่อที่โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้แล้วเสร็จ
จำนวนโครงการที่สามารถดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กำหนด หารด้วย จำนวนโครงการทั้งหมด คูณด้วย 100
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ% |
:๑.๖.๓.๒ จัดบริการทางการแพทย์ให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานครนธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องโรคคนเมืองและอาหารปลอดภัยทุกรูปแบบทุกช่องทาง |
id | budgetyear | month_ | amount_law | amount_inmeeting | adddate | updatedate |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2562 | ตุลาคม | 2 | 1 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
2 | 2562 | พฤศจิกายน | 2 | 1 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
3 | 2562 | ธันวาคม | 2 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
4 | 2563 | มกราคม | 2 | 1 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
5 | 2563 | กุมภาพันธ์ | 2 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
6 | 2563 | มีนาคม | 3 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
7 | 2563 | เมษายน | 2 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
8 | 2563 | พฤษภาคม | 4 | 0 | 2020-06-02 | 2020-07-14 |
9 | 2563 | มิถุนายน | 0 | 0 | 2020-07-14 | 2020-07-14 |
10 | 2563 | กรกฎาคม | 2 | 0 | 2020-08-13 | 2020-08-13 |
11 | 2563 | สิงหาคม | 0 | 0 | 2020-09-16 | 2020-09-16 |
12 | 2563 | กันยายน | 0 | 0 | 2020-09-16 | 2020-09-16 |
13 | 2564 | ตุลาคม 2563 | 0 | 0 | 2020-10-27 | 2020-10-27 |
16 | 2564 | พฤศจิกายน 2563 | 1 | 0 | 2020-11-13 | 2020-11-13 |
17 | 2564 | ธันวาคม 2563 | 6 | 2 | 2020-12-29 | 2020-12-29 |
21 | 2564 | มกราคม 2564 | 9 | 1 | 2021-01-27 | 2021-01-27 |