รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” : 0700-0792

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ 2563 ดังนี้ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ วันที่ 13 พ.ย. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร วันที่ 14 พ.ย. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลสิรินธร วันที่ 14 พ.ย. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลกลาง วันที่ 25 พ.ย. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ วันที่ 9 ธ.ค. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลตากสิน วันที่ 9 ธ.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ วันที่ 13 ธ.ค. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน วันที่ 13 ธ.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ วันที่ 29 ม.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีมีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 โดยผ่านคลินิกคุณภาพระดับเงิน (S) จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 3. โรงพยาบาลสิรินธร 4. โรงพยาบาลตากสิน 5. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุเทพมหานคร 6. โรงพยาบาลกลาง 7. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผ่านคลินิกผู้สูงอายุระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีมีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 โดยผ่านคลินิกคุณภาพระดับเงิน (S) จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 3. โรงพยาบาลสิรินธร 4. โรงพยาบาลตากสิน 5. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุเทพมหานคร 6. โรงพยาบาลกลาง 7. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผ่านคลินิกผู้สูงอายุระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการ ผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ บันได 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์และมีแพทย์รับผิดชอบ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรม เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร เป็นต้น 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive Impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10. บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง Incontinence 12. คัดกรอง Fall 13. คัดกรอง Malnutrition 14. คัดกรอง Depression 15. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตที่โรงพยาบาลรับผิดชอบ 16. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ ในกลุ่มผู้สูงอายุ 17. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation 18. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 19. รับปรึกษาจากคลินิกอื่นหรือหอผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล 20. แพทย์เฉพาะทางที่ออกตรวจในคลินิกผู้สูงอายุ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 - คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับเพชร (D) 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับเงิน (S) 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลกลาง 2. โรงพยาบาลตากสิน 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 8. โรงพยาบาลสิรินธร 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ในปี 2563 สำนักการแพทย์ได้จัดทำแนวทางการให้บริการผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานครร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 13 กรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นการดำเนินงาน “คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร” และ“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ซึ่งได้มีขยายการดำเนินงานไปยังโรงพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภาครัฐ/เอกชน รวมถึงศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย การดำเนินงานดังกล่าวจะเป็นการช่วยเพิ่มศักยภาพในการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรก ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเอง และดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 10 รายการ ดังนี้ 1. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ 2. คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันตามแบบประเมิน ADL 3. ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) 4. คัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น: ตรวจสายตา (Visual Acuity Test) 5. ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 6. ประเมินสมรรถภาพสมอง (Modified IQ CODE) 7. ประเมินภาวะโภชนาการ 8. คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 9. คัดกรองภาวะหกล้ม (Fall) 10. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ เฉพาะที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยาด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ หมายถึง คลินิกที่ดำเนินกิจกรรม ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ตามเกณฑ์ที่กำหนด หารด้วย จำนวน โรงพยาบาลทั้งหมด คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด%
:๓.๑.๓.๑ พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง