ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 40
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 75.59
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ สำนักการแพทย์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินงานโครงการ กทม.ใส่ใจ ผู้สูงวัย หัวใจแกร่ง ในปี 2564 โดยจะเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเข้าร่วม ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย สำนักงานเขต สำนักพัฒนาสังคม และอยู่ระหว่างการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมดังกล่าว
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ 135 ราย จำนวน ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน 165 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.82
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ 138 ราย จำนวน ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน 201 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.66
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้ดำเนินโครงการ กทม.ใส่ใจ ผู้สูงวัย หัวใจแกร่ง จำนวน 10 แห่งโดยผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง Geriatric Assessment จำนวนทั้งหมด 9,233 ราย ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการคัดกรองเข้าเงื่อนไขในการส่งต่อ และได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่องที่บ้านทั้งหมด จำนวน 299 ราย และได้รับการแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ จำนวน 226 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.59
1. ความสำเร็จในการแก้ไขปัญหา หมายถึง ผู้สูงอายุที่เข้าเงื่อนไขในการส่งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้รับการดูแล แก้ไขปัญหา ตามสิ่งที่ค้นพบทั้งทางด้านสุขภาพและสังคมอย่างบูรณาการ จากหน่วยงานไตรภาคี ประกอบด้วย โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย และสำนักงานเขตและมีความพึงพอใจในการแก้ไขปัญหามากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 2. การประเมินผู้สูงอายุที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ หมายถึง ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน ชนิด Basic ADL (Barthel ADL index) ได้คะแนนเท่ากับ ๐ – ๑๑ คะแนน และได้รับการคัดกรอง Geriatric Assessment แล้วทีมสหสาขาวิชาชีพ เห็นว่า สมควรส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ หารด้วย จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน คูณด้วย 100
- แบบรายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส - แบบบันทึกการส่งเยี่ยมบ้านคลินิกผู้สูงอายุ
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร |
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด% |
:๓.๑.๓.๑ พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ |