ค่าเป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ : 30
ผลงานที่ทำได้ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ : 62.38
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. โรงพยาบาลกลาง ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด “ความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมิน CVD Risk และมีความเสี่ยงสูง” ครั้งที่ 2/2563 ในวันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.00 น.ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ ชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าที่ตรงกัน 1.ดำเนินการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2.เก็บ ข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับ CVD risk 3. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk สูง เพื่อเตรียมการในการจัดระบบและติดตามผู้ป่วยเพื่อให้การดูแลในด้านต่างๆ เป้าหมายคือลดค่า CVD risk " จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 2,306ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 32 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 874 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.66 2.โรงพยาบาลตากสิน คลินิกเบาหวานดำเนินการดังนี้ 1.ปรับเพิ่มคลินิกในการตรวจรักษาในศูนย์เบาหวาน อีก 1 คลินิก คือ คลินิกเบาหวานทั่วไป เพื่อแยกผู้ป่วนที่มารับให้คำปรึกษา การตรวจภาวะแทรกซ้อน และการฝึกการดูแตนเองโดยไม่ได้รับการตรวจรักษาในศูนย์เบาหวาน เพื่อสะดวกในการติดตาม 2. การทบทวนผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่เข้ารับการตรวจรักษาจริงในคลินิกทั้งหมดของศูนย์เบาหวาน 3.ทำ Pop up เตือนบุคลากรในหน่วยงานในเคสที่มีความเสี่ยงสูง โดยใช้คำว่า CVD Risk เสี่ยงสูง ใน DMCC 4.ทบทวนร่วมกันกับทีมสหวิชาชีพในการดูแลเพื่อลดระดับความเสี่ยง 5.การให้ความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อลดความเสี่ยงลง ขณะรอคอยโดยให้ความรู้เป็นกลุ่ม ขณะรอคอยการตรวจรักษา 6.เน้นการใช้สมุดเบาหวานแก่ผู้เป็นเบาหวานและญาติ เพื่อตั้งเป้าในการดูแลตนเองให้เหมาะสม 7.นำคู่มือการใหคำแนะนำของส่วนกล่าวมาใช้ ห้องตรวจผู้ป่วยอายุรกรรม มีการดำเนินการดังนี้ 1. มีการใช้ใบคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 2. มีการติดตามผล LAB ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 3. อยู่ระหว่างการจัดทำเอกสารใบแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 670ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 6ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 139 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.32 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ตามแนวทางของ สนพ. อย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 96 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 18ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 23ราย คิดเป็นร้อยละ 78.26 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ 1.ดำเนินการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2.เก็บ ข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับ CVD risk 3 รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk สูง เพื่อเตรียมการในการจัดระบบและติดตามผู้ป่วยเพื่อให้การดูแลในด้านต่างๆ เป้าหมายคือลดค่า CVD risk จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 32 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 18ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 19 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.74 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการมให้บริการผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามแผนงานที่วางไว้ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 789 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 308 ราย อยู่ระหว่างดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้กับผู้ป่วย 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 608 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 308 ราย จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา และค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 0 ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการรักษาอยู่ 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 711 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 319 ราย จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา และค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 0 ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการรักษาอยู่ 8.โรงพยาบาลสิรินธร 1. แต่งตั้งคณะกรรมการเบาหวานความดันโลหิตสูง สหสาขาวิชาชีพ กำหนดบทบาทหน้าที่ และดำเนินการเขียนโครงการเบาหวานความดันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดุแลรักษาเพื่อลดความเสี่ยง ในกลุ่มเป้าหมายตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ร่วมประสานเครือข่าย ประชุมร่วมในการกำนดแนวทางในการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนด และร่วมประเมินความเสี่ยง CVD risk 3. กำหนดแผนในการดำเนินการ 4. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk >= 20 และติดตามผู้ป่วยเพื่อดูแลเพิ่มเติมในด้านต่างๆ ให้ค่า CVD risk ลดลง - จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 2,722 ราย - จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา จำนวน 549 ราย - จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา และค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 0 ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการรักษาอยู่ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 7,934 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 2,539 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 74 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.91
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 3,587 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 52 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.45
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 3,526 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 1,192 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.81
ความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมิน CVD Risk และมีความเสี่ยงสูงของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง ได้รับการประเมิน CVD Risk จำนวน 10,764 ราย มีความเสี่ยงสูง จำนวน 3,272 ราย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม แล้วมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 2,041 ราย คิดเป็นร้อยละ 62.38
1. ความสำเร็จของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk และมีความเสี่ยงสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม อาทิ การได้รับยาลดไขมันการควบคุมระดับน้ำตาล และความดันโลหิตได้ ฯลฯ แล้วมีค่า CVD Risk ลดลง 2. ผู้ที่ได้รับการประเมิน CVD Risk และมีความเสี่ยงสูง หมายถึง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือ ความดันโลหิตสูง (I10 - I15) ในคลินิกเบาหวาน และ/หรือ คลินิกอายุรกรรม ทุกคนได้รับบริการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) และมีความเสี่ยงสูงใน 10 ปีข้างหน้า 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk และมีความเสี่ยงสูง ได้เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สอดคล้องกับความเสี่ยง เช่น การให้คำปรึกษาเรื่องงดบุหรี่ การปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ลดไขมัน ลดเกลือ เป็นต้น หมายเหตุ : รหัส ICD10 ที่จะนำมาประเมิน CVD Risk ได้แก่ 1. รหัสโรคเบาหวาน E10. - E14. (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ยกเว้น รหัส E10. - E14. ร่วมกับ I60 - I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type) รหัสโรคความดันโลหิตสูง I10 - I15 ยกเว้นรหัส I11.0,I11.9, I13.0,I13.1, I13.2, I13.9 และรหัส I10 - I15 ร่วมกับ I60 - I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type) 1. กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk และมีความเสี่ยงสูง (โดยใช้ผลเลือดในการคำนวณ) ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563 -31 มีนาคม 2564 (เนื่องจากต้องใช้ระยะเวลาในการประเมินหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม 6 เดือน)
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง หารด้วย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด คูณด้วย 100
แบบรายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |