รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) สามารถได้รับบริการภายใน 10 นาที และส่วนของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการภายใน 15 นาที : 0700-831

ค่าเป้าหมาย ≥ ร้อยละ : 95

ผลงานที่ทำได้ ≥ ร้อยละ : 89.87

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(≥ ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
95.23
100
100 / 100
2
94.76
0
0 / 0
3
94.46
0
0 / 0
4
89.87
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 1,026 ราย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 4,153 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.71 2. จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 2,919 ราย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 4,139 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.52

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 2,340 ราย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 9,868 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.71 2.จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 6,856 ราย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 9,649 ราย คิดเป็นร้อยละ 71.05

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 3,462 ราย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 14,658 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.62 2.จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 10,247 ราย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร 14,464 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.84

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ในปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 – 31 สิงหาคม 2564 ) มีสถิติผลการออกปฏิบัติการของเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครในภาพรวมทั้งระบบฯ ดังนี้ ระดับ Advanced (ALS) - จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร ทั้งหมด 3,846 ครั้ง - จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ขอรับบริการทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร ทั้งหมด 17,540 ครั้ง - คิดเป็นร้อยละ 3,846/17,540*100 = 21.93 % ระดับ Basic (BLS) - จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 12,254 ครั้ง - จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ขอรับบริการทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 18,037 ครั้ง - คิดเป็นร้อยละ 12,254/18,037*100 = 67.94 %

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินในเขตพื้นที่รับผิดชอบที่ขอรับบริการศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินที่เป็นบริการขั้นพื้นฐาน ได้รับบริการภาย 15 นาที ส่วนที่เป็นบริการขั้นสูง ได้รับบริการภายใน 10 นาที

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร หารด้วย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ขอรับบริการทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร คูณด้วย 100 2. จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร หารด้วย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ขอรับบริการทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๔ ประชาชนได้รับบริการช่วยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยขั้นวิกฤต%
:๑.๖.๔.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง