ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายทัศไนย ลิ้มเจียมรังษี 0 2220 7592
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ประชาชนที่เกิดภาวะการเจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินขึ้นนอกสถานพยาบาลมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนจากบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางการแพทย์ฉุกเฉิน การที่ผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินสามารถเข้าถึงช่องทางการได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว มีคุณภาพและมาตรฐาน จะทำให้โอกาสการเสียชีวิตและทุพพลภาพของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินลดลง จากสถิติการให้บริการในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในช่วงเวลาที่มีผู้ขอใช้บริการหนาแน่นส่งผลให้ประชาชนต้องรอสายจำนวนมากขึ้น โดยมีสถิติผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555-2561 ดังนี้ ปีงบประมาณ 2555 จำนวน 39,381 ราย ปีงบประมาณ 2556 จำนวน 43,354 ราย และปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จำนวน 41,786 ราย ปีงบประมาณ 2558 จำนวน 52,366 ราย ปีงบประมาณ 2559 จำนวน 62,549 ราย ปีงบประมาณ 2560 จำนวน 72,011 ราย ปีงบประมาณ 2561 จำนวน 78,534 ราย และปีงบประมาณ 2562 จำนวน 80,247 ราย ด้วยจำนวนหน่วยปฏิบัติการและบุคลากรที่ปฏิบัติงานคงเดิม แต่จำนวนผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับปัญหาการจราจรที่ติดขัดในกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากลำบาก และสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทำให้การเข้าถึงผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินต้องใช้เวลามากขึ้น โดยในปีงบประมาณ 2561 ผลการดำเนินงานมีของชุดปฏิบัติการระดับสูง ที่มี response time ภายใน ๑๐ นาที เท่ากับ 6,907 ราย คิดเป็นร้อยละ 30.30 และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐานที่มี response time ภายใน 15 นาที เท่ากับ 15,452 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.81 เพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนที่เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินซึ่งต้องการบริการจากชุดปฏิบัติการระดับสูงในพื้นที่ที่มีระยะเวลาปฏิบัติการนานเกินมาตรฐานที่กำหนดซึ่งมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครที่มีประสิทธิภาพโดยจัดทีมปฏิบัติการในการเข้าช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยได้รวดเร็วยิ่งขึ้น จึงมีความจำเป็นต้องจัดชุดปฏิบัติการระดับสูงเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่ประสบปัญหาการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินในกรุงเทพมหานคร เพื่อช่วยลดระยะทางในการเข้าถึงผู้เจ็บป่วยให้ได้รับบริการรวดเร็วยิ่งขึ้น
07150000/07150000
2.1 เพื่อให้ประชาชนที่เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลือ ณ ที่เกิดเหตุจากบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ความสามารถอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.2 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครมีจำนวนบุคลากรปฏิบัติงานที่สามารถรองรับความต้องการการขอรับบริการของประชาชนผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินอย่างเพียงพอ 2.3 เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้กับประชาชนผู้ขอความช่วยเหลือผ่านหมายเลข 1669, 1646
เพื่อจัดให้มีชุดปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง (Advanced Life Support) หรือชุดปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 10 จุด โดยชุดปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินประกอบด้วยบุคลากร ดังนี้ 1. พยาบาลวิชาชีพหรือนักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ จำนวน 1 คน ต่อผลัด สำหรับชุดปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง Advanced Life Support 2. เวชกรฉุกเฉินระดับพื้นฐานหรือพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ หรือพนักงานช่วยเหลือคนไข้ หรือลูกจ้างที่ผ่านการอบรมเวชกรฉุกเฉินระดับพื้นฐานหรือหลักสูตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ จำนวน 2 คน ต่อผลัด 3. พนักงานขับรถยนต์ หรือเจ้าหน้าที่เวชกรฉุกเฉินระดับพื้นฐานทำหน้าที่พนักงานขับรถยนต์ หรือพนักงานขับรถยนต์ ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชกรฉุกเฉินระดับพื้นฐานหรือหลักสูตรปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐาน และช่วยปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูง จำนวน 1 คน ต่อผลัด โดยปฏิบัติงานเป็นผลัดๆ ละ 8 ชั่วโมง รวมวันละ 3 ผลัด
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๔ ประชาชนได้รับบริการช่วยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยขั้นวิกฤต% |
๑.๖.๔.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-16)
16/09/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนสิงหาคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 142 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 236 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 179 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 223 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 162 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 210 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 201ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 135 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 255 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 145 ครั้ง อยู่ระหว่างเบิกจ่ายค่าตอบแทน ประจำเดือนสิงหาคม 2564
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-08-17)
17/08/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนกรกฎาคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 149 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 212 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 208 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 183 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 111 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 200 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 240 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 106 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 149 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 89 ครั้ง อยู่ระหว่างเบิกจ่ายค่าตอบแทน ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-07-24)
24/07/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนมิถุนายน ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 159 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 195 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 186 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 168 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 158 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 158 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 162 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 112 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 171 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 148 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 82.00 (2021-06-18)
18/06/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนพฤษภาคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 146 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 271 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 158 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 212 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 165 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 173 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 89 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 115 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 194 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 191 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 82.00 (2021-05-24)
24/05/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนเมษายน ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 159 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 126 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 196 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 179 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 191 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 229 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 121 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 135 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 184 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 226 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-04-20)
20/04/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนมีนาคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 141 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 219 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 134 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 149 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 128 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 149 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 105 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 80 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 190 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 140 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-03-22)
19/02/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนกุมภาพันธ์ ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 87 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 121 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 96 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 117 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 106 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 107 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 88 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 67 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 78 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 70 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-02-19)
19/02/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนมกราคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 115 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 159 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 128 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 130 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 133 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 142 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 98 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 69 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 109 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 98 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-01-22)
22/01/2564 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 10 จุดจอด ในเดือนธันวาคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 96 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 141 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 127 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 128 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 140 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 97 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 90 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 74 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 89 ครั้ง 10.จุดจอดวัดวิมุตยาราม จำนวน 84 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-12-16)
12/16/2020 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งจะดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 9 จุดจอด ในเดือนพฤศจิกายน ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 117 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 114 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 105 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 113 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 144 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 132 ครั้ง 7. จุดจอดทุ่งครุ จำนวน 80 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 68 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 56 ครั้ง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-11-26)
26/11/2563 : ดำเนินการจัดชุดปฏิบัติการการแพทย์ระดับสูง (Advanced Life Support) และชุดปฏิบัติการระดับพื้นฐาน (Basic Life Support) เพื่อให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำจุดจอดนอกโรงพยาบาลทั้ง 9 จุดจอด และจัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่ม 1 จุดจอดใน รวมเป็น 10 จุดจอด ในปีงบประมาณ 2564 ซึ่งจะดำเนินการเปิดจุดจอดที่ 10 จุดจอดวัดวิมุตยาราม เขตบางพลัด ในวันที่ 1 ธันวาคม 2563 โดยมีสถิติการให้บริการทั้ง 9 จุดจอด ในเดือนตุลาคม ดังนี้ 1. จุดจอดประชาชื่น จำนวน 130 ครั้ง 2. จุดจอดตลิ่งชัน จำนวน 78 ครั้ง 3. จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว จำนวน 136 ครั้ง 4. จุดจอดสำนักงานเขตบางนา จำนวน 136 ครั้ง 5. จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) จำนวน 152 ครั้ง 6. จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง จำนวน 155 ครั้ง 7. จุดจอดทุงครุ จำนวน 69 ครั้ง 8. จุดจอดคลองสามวา จำนวน 77 ครั้ง 9. จุดจอดบางขุนเทียน จำนวน 84 ครั้ง อยู่ระหว่างเบอกจ่ายค่าตอบแทนเดือนตุลาคม 2563
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-10-26)
26/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... ได้รับอนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว จัดชุดปฏิบัติการการแพทย์การแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (ALS) เพื่อให้บริการประชาชนผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทั้ง 9 จุดจอด โดยในปีงบประมาณ 2564 จัดหาพื้นที่จุดจอดเพิ่มอีก 1 จุด รวมเป็น 10 จุดจอด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) สามารถได้รับบริการภายใน 10 นาที และส่วนของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการภายใน 15 นาที
ค่าเป้าหมาย ≥ ร้อยละ : 95
ผลงานที่ทำได้ ≥ ร้อยละ : 89.87
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **