ค่าเป้าหมาย ราย : 5000
ผลงานที่ทำได้ ราย : 4
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองทั้งสิ้นจำนวน 981 ราย ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 66 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 21 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 92 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินกิจกรรมตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome)เพื่อคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุที่มารับบริการกับโรงพยาบาลทั้งในและนอกพื้นที่โรงพยาบาล จำนวน 113 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน 41 ราย ADL 12 คะแนนขึ้นไป 41 ราย ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ระดับมาก 1 รายเป็นเพศหญิง ระดับปานกลาง 1 รายเป็นเพศชาย ระดับน้อย 1 รายเป็นเพศหญิง มีภาวะข้อเข่าเสื่อม 23 ราย เพศชาย 5 ราย เพศหญิง 18 ราย เสี่ยงต่อภาะพลัดตกหกล้มจำนวน 13 ราย เพศชาย 3 รายเพศหญิง 10 ราย มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ 5 ราย เพศชาย 2 รายเพศหญิง 3 ราย มีภาวะซึมเศร้า 25 ราย ระดับ น้อย 1 ราย ระดับกลาง 1 ราย เป็นเพศชาย เสี่ยงต่อสมองเสื่อม 6 ราย เพศชาย 2 รายเพศหญิง 4 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการ ดังนี้ 1. รวบรวมข้อมูลผู้สูงอายุที่มารับบริการในโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ เพื่อวางแผนจัดกิจกรรมการบริการที่ครอบคลุมและตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพผู้สูงอายุ โดยกระบวนการที่เหมาะสม ภายใต้บริบทของโรงพยาบาลและรายงานสถิติการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. จัดสรรสถานที่เพื่ออำนวยความสะดวกในการคัดกรองผู้สูงอายุเพิ่มเติมจากคลินิกสุขใจ สูงวัย ประคับประคองบริเวณคลินิกอายุรกรรม และคลินิกศัลยกรรมกระดูก 3. ดำเนินการคัดกรองตรวจสุขภาพผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุ คลินิกอายุรกรรม และคลินิกศัลยกรรมกระดูก 4. รายงานสถิติผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เดือนตุลาคม – ธันวาคม2563 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ ไตรมาส 1 จำนวน (372 ราย) - เดือนตุลาคม = 57 ราย - เดือนพฤศจิกายน = 234 ราย - เดือนธันวาคม = 81 ราย 8.โรงพยาบาลสิรินธร ทำการคัดกรองผู้สูงอายุ ทุกวันพุธและวันศุกร์ เวลา 08.00-12.00 น. ตั้งแต่วันที่ 16 พ.ย. - 15 ธ.ค. 63 จำนวน 25 คน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ฺฺ- ADL >> พึ่งพาเล็กน้อย=23 | พึ่งพาปานกลาง=1 | พึ่งพาส่วนมาก=1 -VA >> ปกติ=25 - 9Q >> ปกติ=24 | ประเมินไม่ได้=1 -OSTA >> เสี่ยงต่ำ=2 | เสี่ยงปานกลาง=9 | เสี่ยงสูง=14 -IQ code >> มีแนวโน้มสมองเสื่อม=8 | ไม่มีแนวโน้มสมองเสื่อม=17 -TMSE >> สงสัยสมองเสื่อม=17 | ไม่สงสัยสมองเสื่อม=6 | ประเมินไม่ได้=2 -Malnutrition >> ปกติ=22 | เสี่ยงทุพโภชนาการ=3 -กลั้นปัสสาวะ >> ปกติ=14 | รุนแรงน้อย=10 | รุนแรงปานกลาง=1 -TUGT >> <11s=10 | ≥11s=14 | เดินไม่ได้=1 -การได้ยิน >> ปกติ=25 -ความแข็งแรงกล้ามเนื้อ >> ปกติ=25 -LAB UA >> ปกติ=4 | ผิดปกติ=0 | ไม่ได้ตรวจ=21 FBS >> ปกติ=19 | ผิดปกติ=5 | ไม่ได้ตรวจ=1 CBC >> ปกติ=20 | ผิดปกติ=0 | ไม่ได้ตรวจ=5 Lipid>> ปกติ=16 | ผิดปกติ=5 | ไม่ได้ตรวจ=4 eGFR>> ปกติ=4 | ผิดปกติ=20 | ไม่ได้ตรวจ=1 -ได้รับคำแนะนำ=25 9.โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.มีการเปิดให้บริการศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยมีการให้บริการคัดกรองกลุ่มโรค 8 โรค และให้การรักษาโดยทีมสหวิชาชีพ 2.มีการให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดยทีมศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุโรงพยาบาลบางขุนเทียน สำนักงานเขตบางขุนเทียน ศูนย์บริการสาธารณสุข 42 โดยมีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง จำนวน 251 ราย
สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายเท่ากับ จำนวน 5,000 ราย โดยมีบริการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองเท่ากับ 1,395 ราย
สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายเท่ากับ จำนวน 5,000 ราย โดยมีบริการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองเท่ากับ 1,506 ราย
สำนักการแพทย์ได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ณ คลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome ค้นหาโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุในระยะแรก เพื่อป้องกันรักษาและสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม โดยตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง จำนวน 363 ราย - โรงพยาบาลตากสิน จำนวน 731 ราย - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 300 ราย - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวน 401 ราย - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ จำนวน 700 ราย - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานครจำนวน 502 ราย - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ จำนวน 1,042 ราย - โรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 358 ราย - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จำนวน 525 ราย รวมทั้งสิ้น 4,922 ราย
ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้สูงอายุที่มารับบริการกับโรงพยาบาลทั้งในและนอกพื้นที่โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง และได้รับการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ การคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ หมายถึง การบริการตรวจ คัดกรอง ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ - คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL - ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) - คัดกรองความบกพร่องทางสายตา: ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) - ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน ด้วย OSTA index - ประเมินสมรรถภาพสมอง (TMSE) - ประเมินภาวะโภชนาการ 3. ตรวจเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด โรคเบาหวาน ระดับไขมันในเลือด และการทำงานของไต (CBC ,FBS ,Lipid profile, Creatinine) 4. คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 5. คัดกรองภาวะหกล้ม (Fall) 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ เฉพาะที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด
นับจำนวน
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร |
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด% |
:๓.๑.๓.๑ พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ |