รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก (ผลลัพธ์) : 0800-0916

ค่าเป้าหมาย ไม่เกินค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง : 80

ผลงานที่ทำได้ ไม่เกินค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง : 46.63

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.49
100
100 / 100
2
18.27
100
100 / 100
3
26.74
0
0 / 0
4
46.63
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผู้ป่วย คูณ ประชากร 100,000 คน หาร จำนวนประชากรปี 2562 311 x 100,000 / 5,666,264 = 5.49 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วย คูณ ประชากร 100,000 คน หาร จำนวนประชากรปี 2562 1,035 x 100,000 / 5,666,264 = 18.27 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วย x ประชากร / จำนวนประชากรปี 2562 1,515 x 100,000/5,666,264 = 26.74 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วย x ประชากร / จำนวนประชากรปี 2562 2,642 x 100,000/5,666,264 = 46.63 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร *ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง คือ 158.66

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2563ไม่เกินค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2558– 2562) (ผลลัพธ์) 1. โรคไข้เลือดออก หมายถึง โรคที่ได้รับการวินิจฉัยอาการตามเกณฑ์ทางคลินิกและหรือมีผลตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกกลุ่มอาการ ได้แก่ Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) และ Dengue Shock Syndrome (DSS) 2. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก หมายถึง จำนวนผู้ป่วย DF+DHF+DSS คูณ 100,000 หารด้วยจำนวนประชากรกลางปี 3. เปอร์เซ็นไทล์ (Percentile) คือ การแบ่งข้อมูลเป็น 100 ส่วน ในที่นี้แบ่งอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ข้อมูล 5 ปี ย้อนหลัง เป็น 100 ส่วน โดยใช้ตำแหน่งที่ 80 เป็นค่าเปรียบเทียบ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผู้ป่วย x ประชากร 100,000 คน จำนวนประชากรปี 2562

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง