ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 97.54
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาฯห้องปฏิบัติการ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae) โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 – เดือนธันวาคม 2562 ยังไม่มีการเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการจ้างเหมาฯ ทางห้องปฏิบัติการ-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม2563 เป็นต้นมา โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 953 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 938 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.43-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2563 เป็นต้นมา โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 2,074 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 2,024 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 97.59-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 14 สิงหาคม 2563 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 2,801 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 2,732 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 97.54
1. ตัวอย่างอาหาร หมายถึง ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจจากแผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขต 2. เชื้อโรค หมายถึง เชื้อที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , S. aureus และ V. cholerae 3. ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค หมายถึง การปนเปื้อนเชื้อโรคไม่เกินเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาตามประกาศกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ฉบับปัจจุบัน กรณีพบการปนเปื้อนเชื้อโรค ให้เจ้าพนักงานออกคำแนะนำหรือออกคำสั่งให้ผู้ประกอบการอาหารดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ผลผลิต : จำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อโรค ผลลัพธ์ : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบ การปนเปื้อนเชื้อโรค
วิธีการคำนวณ : จำนวนตัวอย่างอาหารที่ตรวจวิเคราะห์ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์ สูตรการคำนวณ : (จำนวนตัวอย่างอาหารที่ตรวจวิเคราะห์ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค x 100) / จำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |