ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 287ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 20.50 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 287 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 0 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 100...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 670 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 47.86 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 665 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 5 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 99.25...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 913 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 91.3 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 908 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 5 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 99.45...//
-ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 1,316 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 94 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,307 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 9 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 99.32...//
การบริโภคเนื้อสัตว์ที่มียาต้านจุลชีพตกค้างสูงเกินค่าความปลอดภัยสำหรับการบริโภคจะทำให้ผู้บริโภคได้รับยาต้านจุลชีพเข้าไปในร่างกาย ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและชีวิตของผู้บริโภคได้ ผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นจะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณของสารต้านจุลชีพชนิดนั้นๆ และขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งไม่เหมือนกัน ยาต้านจุลชีพบางอย่างสามารถสะสมอยู่ในร่างกายได้และจะแสดงอาการเป็นพิษเมื่อปริมาณที่สะสมไว้ทีละน้อยๆ นั้นสูงพอ ผลเสียที่เกิดจากยาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ต่อผู้บริโภคที่พบ ได้แก่ ทำให้เกิดการแพ้ (hypersensitivity effect) โดยยาบางชนิดอาจโน้มนำก่อให้เกิดมะเร็งได้ และทำให้เชื้อบางชนิดดื้อต่อยา
วิธีการคำนวณ ผลผลิต : จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการตรวจคัดกรองหา ยาต้านจุลชีพตกค้าง คูณด้วย 100 หารด้วย 1,400 ผลลัพธ์ : จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ตรวจคัดกรองไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้าง คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ทำการสุ่มตรวจทั้งหมด
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๒ ผู้บริโภครู้จักพิทักษ์สิทธิคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ตนเอง |