รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (ผลลัพธ์) : 0800-0934

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
17.44
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขั้นตอนผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน (ต่อเนื่อง) โดยในเดือนธันวาคมดำเนินการติดตามเยี่ยมจำนวน 18 แห่ง ขณะนี้ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามตรวจเยี่ยมและให้คำแนะนำแล้วเสร็จไปแล้ว จำนวน 13 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 1,5,9,12,25,26,30,35,37,41,43,52 และ 55 จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 600 คน จากจำนวนทั้งหมด 3439 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2562 เนื่องจาก Caregiver ในปี 2563 ยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมภาคทฤษฎี) โดยผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 17.44 ของผู้ดูแลฯทั้งหมด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (ติดตามระยะที่ 1 จะมีการติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63) จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3439 คน จากจำนวนทั้งหมด 3439 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2562 เนื่องจาก Caregiver ในปี 2563 ยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมภาคปฏิบัติในพื้นที่) 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว จะมีการติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3,607 คน จากจำนวนทั้งหมด 3,607 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2563 ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ) ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63 ได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ) ทั้งนี้ ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล เนื่องจาก พยาบาลผู้จัดการสุขภาพได้ลงตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เพื่อติดตาม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริง ทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว โดยพยาบาลผู้จัดการสุขภาพได้ดำเนินการติดตาม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3,607 คน จากจำนวนทั้งหมด 3,607 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2563 ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ) ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63 ได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร )

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรมหลักสูตรผู้ดูแลฯ จากสำนักอนามัย และปฏิบัติงานจริง มีความต่อเนื่อง โดยมีพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ปฏิบัติหน้าที่การติดตาม กำกับ ดูแล ตามมาตรฐานที่กำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตามกำกับดูแลจากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาลX 100 ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด%
:๓.๑.๓.๒ พัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนให้กับผู้สูงอายุ (Fast Track)

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง