รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ผลผลิต) : 0800-0937

ค่าเป้าหมาย ราย : 255000

ผลงานที่ทำได้ ราย : 117452

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
91,869.00
100
100 / 100
3
96,833.00
0
0 / 0
4
117,452.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 91,869 คน คิดเป็นร้อยละ 36.03 ของเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนพฤษภาคม 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 96,833 คน คิดเป็นร้อยละ 37.97 ของเป้าหมายเดิมก่อนปรับลด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนกันยายน 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 117,452 คน คิดเป็นร้อยละ 117.45 ของเป้าหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพเพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพเพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๓ ดูแลช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยงที่พบภาวะซึมเศร้าเข้าสู่ระบบบริการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง