ค่าเป้าหมาย >ร้อยละ : 70
ผลงานที่ทำได้ >ร้อยละ : 63.15
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1.กำหนดแผนการลงสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถานพยาบาล สถานศึกษา 2.ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กับสำนักงานเขต 50 เขต ศบส.68 แห่ง ในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2562 ชุมชน 20 x 100 / 364 = 5.49 หมู่บ้านจัดสรร 2 x 100 / 395 = 0.50 สถานศึกษา 3 x 100 / 322 = 0.93 สถานพยาบาล 1 x 100/287 = 0.34
กำหนดแผนการลงสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถานพยาบาล สถานศึกษา -ชุมชน 39 x 100 / 364 = 10.71 -หมู่บ้านจัดสรร 36 x 100 / 395 = 9.11 -สถานศึกษา 48 x 100 / 322 = 14.90 -สถานพยาบาล 32 x 100/287 = 11.14
-ชุมชน 81*100/364 = 22.25 -หมู่บ้านจัดสรร 59*100/395 = 14.94 -สถานศึกษา 73*100/322 = 22.67 -สถานพยาบาล 48*100/287 = 16.72
ดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายของกลุ่มเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด -ชุมชน 485*100/768 = 63.15 -หมู่บ้านจัดสรร 78*100/395 = 19.74 -สถานศึกษา 555*100/650 = 85.38 -สถานพยาบาล 60*100/287 = 20.91
1. ชุมชน ได้แก่ ชุมชนที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบของกรุงเทพมหานครและชุมชนไม่ขึ้นตามระเบียบของกรุงเทพมหานคร (จำนวนชุมชนจากการสำรวจแบบปฐมภูมิ จำนวนชุมชน ณ กุมภาพันธ์ 2561 = 4,025 ชุมชน โดยขนาดประชากรชุมชน = 364 แห่ง*2) 2. สถานศึกษา คือ โรงเรียนทุกสังกัดในเขตกรุงเทพมหานคร (จำนวนโรงเรียนจากข้อมูลสถิติปีการศึกษา 2561 สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ณ วันที่ 24 กันยายน 2561= 1,647 แห่ง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ = 322 แห่ง*2) 3. สถานพยาบาล คือ สถานพยาบาลที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (จำนวนสถานพยาบาลข้อมูลจากกองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ณ มีนาคม 2562 = 1,069 แห่ง โดยขนาดประชากรสถานพยาบาล 1,069 แห่ง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ = 287 แห่ง*2) 4. หมู่บ้านจัดสรร คือ หมู่บ้านที่ได้รับการจัดสรรตามพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดินและมีข้อมูลเผยแพร่ผ่านสื่อ เวปไซต์ของกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย ณ มิถุนายน 2562 = 33,400 แห่ง โดยขนาดประชากรหมู่บ้านจัดสรร = 33,400แห่ง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่= 395 แห่ง*2) เกณฑ์ที่กำหนด คือ 1. ชุมชน/สถานศึกษา/สถานพยาบาล ตามกลุ่มเป้าหมายมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์ที่กำหนด>ร้อยละ 70 2. หมู่บ้านจัดสรรตามกลุ่มเป้าหมายมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์ที่กำหนด >ร้อยละ 40 ดังนี้ - ชุมชน/หมู่บ้านจัดสรร มีค่า HI < 10*1 คือ ภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในระดับความเสี่ยงต่ำ - สถานศึกษา/สถานพยาบาล มีค่าCI = 0*1 คือ ร้อยละของภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลายระดับปลอดภัย **เกณฑ์อ้างอิงจากสำนักระบาดวิทยา (www.cupamnat.com/files/DHFเกณฑ์.pdf) กลุ่มเป้าหมาย 1. ชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่สุ่มสำรวจ*3 มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( HI <10) 2. หมู่บ้านจัดสรรในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่สุ่มสำรวจ*3 มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( HI <10) 3. โรงเรียนในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่สุ่มสำรวจ*3 มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( CI = 0) 4. สถานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่สุ่มสำรวจ*3 มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (CI = 0) ดัชนีลูกน้ำยุงลาย ค่า HI (House Index) คือ ร้อยละของบ้านที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย ค่า CI (Container Index) คือ ร้อยละของภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลาย
วิธีคำนวณ 1. ค่า HI 1.1) HI = จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลาย X 100 จำนวนบ้านที่สำรวจทั้งหมด 1.2) ร้อยละของชุมชนที่สุ่มสำรวจฯ มีค่า HI <10 = จำนวนชุมชนที่มีค่า HI < 10 X 100 จำนวนชุมชนทั้งหมดที่ได้รับการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 1.3) ร้อยละของหมู่บ้านจัดสรรที่สุ่มสำรวจฯ มีค่า HI <10 = จำนวนหมู่บ้านจัดสรรที่มีค่า HI < 10 X 100 จำนวนหมู่บ้านจัดสรรทั้งหมดที่ได้รับการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 2. ค่า CI 2.1) CI = จำนวนภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลาย x 100 จำนวนภาชนะที่สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 2.2.) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีค่า CI = 0 =จำนวนสถานศึกษาที่มีค่า CI = 0 X 100 จำนวนสถานศึกษาทั้งหมดที่สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 2.3 ) ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีค่า CI = 0 = จำนวนสถานพยาบาลที่มีค่า CI = 0 X 100 จำนวนสถานพยาบาลทั้งหมดที่สำรวจ ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย หมายเหตุ * 1 ค่าแปลผล HI ค่าแปลผล CI ระดับปลอดภัย = 0 ระดับปลอดภัย = 0 ระดับเสี่ยงต่ำ < 10 ระดับเสี่ยงต่ำ < 5 ระดับเสี่ยงสูง < 10 - 50 ระดับเสี่ยงสูง 5-9 ระดับเสี่ยงสูงมาก > 50 ระดับเสี่ยงสูงมาก < 10 * 2 ขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางสำเร็จรูปของ Taro Yamane ขนาดความคลาดเคลื่อน (e) ± 5% 1. ขนาดประชากรชุมชน 4,076 ชุมชน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ = 364 แห่ง 2. ขนาดประชากรหมู่บ้านจัดสรร 33,400แห่ง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ = 395 แห่ง 3. ขนาดประชากรสถานศึกษา 1,647 แห่ง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ = 322 แห่ง 4. ขนาดประชากรสถานพยาบาล 1,069 แห่ง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ = 287 แห่ง *3 การเลือกสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยวิธีการสุ่มเป็นระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วน)
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก |