ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างประสานวิทยากร เตรียมเอกสารประกอบการประชุม และแจ้งผู้รับการอบรมให้ทราบกำหนดการอบรม กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ขณะนี้อยู่ระหว่างทำคำสั่งรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมเพื่อขออนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และประสานสถานที่ศึกษาดูงานต่างจังหวัด กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล อยู่ระหว่างรวบรวมรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 68 แห่ง เพิ่มเติม และประสานทีมวิทยากรฝึกอบรม กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมฯ รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 16 - 17 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 656 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 669 ราย คิดเป็นร้อยละ 98 คิดเป็นร้อยละ 98 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 ธ.ค. 62) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 14,245 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1,396 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1,396 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 มี.ค.63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,135 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล 8. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ตามกิจกรรมในโครงการ โดยสรุป - กิจกรรมที่แล้วเสร็จ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการจัดอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลฯ (caregiver), กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล,กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร - กิจกรรมที่เริ่มดำเนินการแล้ว บางส่วนเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค Covid-19 และตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต้องชะลอการดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาฯ ตามแผนกำหนดการในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2563, กิจกรรมที่ 6 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 ได้ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 6 ครั้ง, กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ดำเนินการครบทั้ง 68 แห่งในระยะที่ 1 เรียบร้อยแล้ว
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1797 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1797 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 30 มิ.ย. 63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 14,365 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยความสำเร็จของโครงการคิดเป็นร้อยละ 95 โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน, กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู็ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล และ กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรม ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 2.กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 4.กิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินงบประมาณในการจัดทำบัตรประจำตัวผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และอยู่ระหว่างรอการตรวจรับชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปี 2563 5.กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้วผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลได้อย่างต่อเนื่อง และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินงบประมาณในการจัดทำบัตรประจำตัวผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และอยู่ระหว่างรอการตรวจรับชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปี 2563 กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้ว
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1,884 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1,884 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 ส.ค. 63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,580 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยความสำเร็จของโครงการคิดเป็นร้อยละ 100 โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน, กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู็ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล, กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และกิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรม ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 2.กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 4. กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้ว
1. Home Ward หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีผู้ดูแล (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการสร้างแกนนำผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและมีพยาบาลผู้จัดการสุขภาพดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 2. การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพด้วยแบบประเมิน ADL,TAI,2Q
วิธีการคำนวณ : จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ที่ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน X 100 . จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ทั้งหมด
-
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร |
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด% |
:๓.๑.๓.๒ พัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนให้กับผู้สูงอายุ (Fast Track) |