รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม (ผลลัพธ์) : 0800-6601

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 90

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 90.8

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
0
0 / 0
3
87.20
0
0 / 0
4
90.80
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการขออนุมัติโครงการฯ /จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้กับหัวหน้าพยาบาลหรือแกนนำที่ผ่านการอบรมโครงวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ทั้ง 69 แห่ง /จัดทำหนังสือชี้แจงการดำเนินงานโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพและติดต่อประสานงานคณะกรรมการเพื่อเชิญเป็นคณะกรรมการตัดสิน /จัดทำร่างหลักเกณฑ์การประกวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดทำร่างหลักเกณฑ์การประกวด /รวบรวมโครงการ กิจกรรมการดำเนินโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ และผลการชั่งน้ำหนักประจำเดือน จากศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างขั้นตอนรวบรวมผลการดำเนินงานโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ จากศูนย์บริการสาธารณสุข 1 - 69 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 1,290 คน ที่มีภาวะเสี่ยง/่ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน หลังเข้าร่วมโครงการฯ มีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม จำนวน 1,125 คน คิดเป็นร้อยละ 87.20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำหนังสือขออนุมัติถึงผู้อำนวยการสำนักอนามัย เรื่องขออนุมัติเลื่อนระยะเวลาการดำเนินโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 จากระยะเวลาสิ้นสุดเดือนกันยายน ออกไปเป็น30 ธันวาคม 2564/สรุปการติดตามรวบรวมข้อมูลและประเมินผลโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 2,641 คน ที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน หลังเข้าร่วมโครงการฯมีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม จำนวน 2,398 คน คิดเป็นร้อยละ 90.80

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- ผู้เข้าร่วมโครงการฯ หมายถึง ข้าราชการและบุคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่งที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน - อ้วนลงพุง หมายถึง ผู้ที่มีรอบเอวมากว่า 90 เซนติเมตร (36 นิ้วในเพศชาย) และมากกว่า 80 เซนติเมตร (32 นิ้ว ในเพศหญิง) - ค่าดัชนีวลกาย (BMI คำนวณได้จาก น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) /ส่วนสูง2 (เมตร) - ภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดโดยการเจาะจากเส้นเลือดฝอยที่ปลายนิ้ว (DTX) >100mg/dl (งดน้ำงดอาหาร 8 ชั่วโมง) และ >140mg/dl (หลังอาหาร 2 ชั่วโมง) - ภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ผู้ที่มีความดันโลหิตเท่ากับหรือมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ค่าเป้าหมาย ผู้เข้าร่วมโครงการฯที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน ลดลงจากเดิม ร้อยละ 90 (ผลลัพธ์)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน ลดลงจากเดิม X 100 / จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯทั้งหมดที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง