ค่าเป้าหมาย ครั้ง : 24
ผลงานที่ทำได้ ครั้ง : 29
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดประชุม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดประชุม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมราชเทวี โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคาร ไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14-15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16-17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน
ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดประชุม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดประชุม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมราชเทวี โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคาร ไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14-15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16-17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 12 : วันที่ 20 ม.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2564” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 13 : วันที่ 28 ม.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 14 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตทวีวัฒนา” ณ สำนักงานเขตทวีวัฒนา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม พร้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และ ทีมวิชาการ คณาจารย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยร่วมกันออกแบบกลไก และข้อมูล ในการสังเคราะห์ยกร่าง และวางปฏิทินการทำงานการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ เพื่อขยายบทบาทและสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนสุขภาวะ โดยผ่านกลไก คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ครั้งที่ 15 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมแนวทางพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตบางบอน” ณ สำนักงานเขตบางบอนโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตบางบอน เป็นประธาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตบางบอน หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สภาองค์กรชุมชนเขตบางบอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ ระดับเขต พื้นที่นำร่อง 13 เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 16 : วันที่ 19 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตสายไหม” ณ สำนักงานเขตสายไหม โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตสายไหม หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และสภาองค์กรชุมชนเขตสายไหม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาศักยภาพ กลไก คณะทำงานระดับเขตสู่ความเข้าใจร่วมในการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบริบทต้นทุนทางสังคมของเขตสายไหม ด้านประชากร ด้านสุขภาพ และข้อมูลชุมชน โดยจะส่งผ่านข้อมูลพื้นฐานชุมชนให้ทาง มรภ.พระนคร จัดทำกลุ่มประเด็นจากฐานข้อมูลเบื้องต้น ก่อนจะร่วมกันเติมเต็มข้อมูลและออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนประเด็นต่อไป ครั้งที่ 17 : วันที่ 24 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตวังทองหลาง” ณ สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วย หัวหน้าฝ่าย พร้อมเจ้าหน้าเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานสภาองค์กรชุมชนเขตวังทองหลาง และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เพื่อวางระบบและแผนงานการจัดการข้อมูล วิเคราะห์ทุนทางสังคม กลไก บทบาทในพื้นที่ เพื่อจัดทำและขับเคลื่อนงานการมีส่วนร่วม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับ ทุนศักยภาพชุมชน สังเคราะห์ปัญหา และความต้องการชุมชน ครั้งที่ 18 : วันที่ 25 ก.พ. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวิน สำนักอนามัย สำนักงานเขตภาษีเจริญ สถานีกาชาดที่ 11 (วิเศษนิยม) สภากาชาดไทย เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ Migrant Working Group พระนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ลงพื้นที่เพื่อมอบชุดธารน้ำใจกู้ชีวิตฝ่าวิกฤตโควิด-19 และสื่อความรู้โควิด-19 ให้แก่ ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงชาวเมียนมาที่ได้รับการกักกันตัวในสถานที่ควบคุมเป็นที่พักอาศัย (Home Quarantine) และแรงงานชาวเมียนมา ณ สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตภาษีเจริญ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพระนิสิตชาวเมียนมา ให้ความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษา ทาง video call ในการป้องกันตนเองจากโควิด-19 รวมทั้งมอบแอลกอฮอล์เจล หน้ากากอนามัยแบบผ้า และสื่อความรู้ ครั้งที่ 19 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ระเบียบวาระว่าด้วยเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร หาบเร่แผงลอย และ ธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนานโยยายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ กทม. ครั้งที่ 20 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอำนวยการพัฒนาสุขภาวะเขตพื้นที่ กทม.” ณ อาคารสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ กทม. รอง ผอ.สำนักพัฒนาสังคม หัวหน้าฝ่าย สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักอนามัย ผู้แทน กขป. สปสช. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ทั้ง 5 แห่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพื้นที่นำร่อง 13 เขต และหารือทิศทางและกลยุทธ์การจัดเวทีเสริมพลังในระดับ มหานคร ครั้งที่ 21 : วันที่ 11 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตดอนเมือง” ณ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมี หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เป็นประธาน พร้อม ประธานชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คณาจารย์ มรภ.สวนสุนันทา และ ดร.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร (กขป.กทม) ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ประเด็น รวมไปถึงการวิเคราะห์ ผู้เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลสู่การยกร่างธรรมนูญสุขภาพเขตดอนเมือง ในการนี้ให้ความสำคัญในกลไก พชข. และผู้นำ node ชุมชน 95 ชุมชน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 เมษายน ถือเป็นเวทีที่ 3 สู่การแปลงข้อมูลสู่ร่างนโยบายสาธารณะระดับเขต ครั้งที่ 22 : วันที่ 11-12 มี.ค. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรต่างด้าวในชุมชน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตบางบอน บางแค บางขุนเทียน จอมทอง ภาษีเจริญ และหนองแขม ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค โดยมี พญ.อริศรา ทัตตากร ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เป็นประธานและบรรยายพิเศษ เรื่อง “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” ครั้งที่ 23 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรี โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ ม.รภ.บ้านสมเด็จฯ
ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดกิจกรรม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคารไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้า ร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14 - 15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญ สุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16 - 17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพ มหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 12 : วันที่ 20 ม.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 13 : วันที่ 28 ม.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 14 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตทวีวัฒนา” ณ สำนักงานเขตทวีวัฒนา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม พร้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และทีมวิชาการ คณาจารย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยร่วมกันออกแบบกลไกและข้อมูลที่จะใช้ในการสังเคราะห์ยกร่าง และวางปฏิทินการทำงานการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ เพื่อขยายบทบาทและสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนสุขภาวะ โดยผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ครั้งที่ 15 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมแนวทางพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตบางบอน” ณ สำนักงานเขตบางบอน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตบางบอน เป็นประธาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตบางบอน หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สภาองค์กรชุมชนเขตบางบอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ระดับเขต พื้นที่นำร่อง 13 เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 16 : วันที่ 19 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตสายไหม” ณ สำนักงานเขตสายไหม โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตสายไหม หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และสภาองค์กรชุมชนเขตสายไหม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาศักยภาพ กลไกคณะทำงานระดับเขต สู่ความเข้าใจร่วมในการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบริบทต้นทุนทางสังคมของเขตสายไหม ด้านประชากร ด้านสุขภาพ และข้อมูลชุมชน โดยจะส่งผ่านข้อมูลพื้นฐานชุมชนให้ มรภ.พระนคร จัดทำกลุ่มประเด็นจากฐานข้อมูลเบื้องต้น ก่อนจะร่วมกันเติมเต็มข้อมูลและออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนประเด็นต่อไป ครั้งที่ 17 : วันที่ 24 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตวังทองหลาง” ณ สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานสภาองค์กรชุมชนเขตวังทองหลาง และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เพื่อวางระบบและแผนงานการจัดการข้อมูล วิเคราะห์ทุนทางสังคม กลไก บทบาทในพื้นที่ เพื่อจัดทำและขับเคลื่อนงานการมีส่วนร่วม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับทุนศักยภาพชุมชน สังเคราะห์ปัญหา และความต้องการชุมชน ครั้งที่ 18 : วันที่ 25 ก.พ. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวิน สำนักงานเขตภาษีเจริญ สถานีกาชาดที่ 11 (วิเศษนิยม) สภากาชาดไทย เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ Migrant Working Group พระนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และสถานี โทรทัศน์ไทยพีบีเอส ลงพื้นที่เพื่อมอบชุดธารน้ำใจกู้ชีวิตฝ่าวิกฤตโควิด - 19 และสื่อความรู้โควิด - 19 ให้แก่ ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงชาวเมียนมาที่ได้รับการกักกันตัวในสถานที่ควบคุมเป็นที่พักอาศัย (Home Quarantine) และแรงงานชาวเมียนมา ณ สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตภาษีเจริญ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพระนิสิตชาวเมียนมา ให้ความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษาทาง video call ในการป้องกันตนเองจากโควิด - 19 รวมทั้งมอบแอลกอฮอล์เจล หน้ากากอนามัย และสื่อความรู้ ครั้งที่ 19 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ระเบียบวาระว่าด้วยเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร หาบเร่แผงลอย ธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ กทม. ครั้งที่ 20 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอำนวยการพัฒนาสุขภาวะเขตพื้นที่ กทม.” ณ อาคารสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ กทม. รอง ผอ.สำนักพัฒนาสังคม หัวหน้าฝ่าย สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักอนามัย ผู้แทน กขป. สปสช. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ทั้ง 5 แห่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพื้นที่นำร่อง 13 เขต และหารือทิศทางและกลยุทธ์การจัดเวทีเสริมพลังในระดับมหานคร ครั้งที่ 21 : วันที่ 11 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตดอนเมือง” ณ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีหัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เป็นประธาน พร้อมประธานชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คณาจารย์ มรภ.สวนสุนันทา และ ดร.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร (กขป. กทม.) ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ประเด็น รวมไปถึงการวิเคราะห์ ผู้เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลสู่การยกร่างธรรมนูญสุขภาพเขตดอนเมือง ในการนี้ให้ความสำคัญในกลไก พชข. และผู้นำ node ชุมชน 95 ชุมชน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 เมษายน ถือเป็นเวทีที่ 3 สู่การแปลงข้อมูลสู่ร่างนโยบายสาธารณะระดับเขต ครั้งที่ 22 : วันที่ 11 - 12 มี.ค. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรต่างด้าวในชุมชน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขต บางบอน บางแค บางขุนเทียน จอมทอง ภาษีเจริญ และหนองแขม ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค โดยมี พญ.อริศรา ทัตตากร ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย เป็นประธานและบรรยายพิเศษ เรื่อง “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” ครั้งที่ 23 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 24 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 25 : วันที่ 23 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะทำงานพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตทุ่งครุ” ณ สำนักงานเขตทุ่งครุ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ชมผู้สูงอายุ ประธานสภาองค์กรชุมชนเขต พร้อมด้วยประธานชุมชนแขวง รอง ผอ.สถาบันวิจัย มรภ.ธนบุรี ร่วมกันพิจารณาแผนและกรอบทิศทางการพัฒนาธรรมนูญฯ ของเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 26 : วันที่ 30 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 27 : วันที่ 29 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพื้นที่ 13 ครั้งที่ 2/2564”ประชุมออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 28: วันที่ 30 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 3/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพ มหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร และระบบออนไลน์ โปรแกรม ZOOM โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพ-มหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 29: วันที่ 17 พ.ค. 2564 "ประชุมอนุกรรมการวิชาการสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 5/2564" ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร , สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน
ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดกิจกรรม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคารไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้า ร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14 - 15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญ สุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16 - 17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพ มหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 12 : วันที่ 20 ม.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 13 : วันที่ 28 ม.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 14 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตทวีวัฒนา” ณ สำนักงานเขตทวีวัฒนา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม พร้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และทีมวิชาการ คณาจารย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยร่วมกันออกแบบกลไกและข้อมูลที่จะใช้ในการสังเคราะห์ยกร่าง และวางปฏิทินการทำงานการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ เพื่อขยายบทบาทและสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนสุขภาวะ โดยผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ครั้งที่ 15 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมแนวทางพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตบางบอน” ณ สำนักงานเขตบางบอน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตบางบอน เป็นประธาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตบางบอน หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สภาองค์กรชุมชนเขตบางบอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ระดับเขต พื้นที่นำร่อง 13 เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 16 : วันที่ 19 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตสายไหม” ณ สำนักงานเขตสายไหม โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตสายไหม หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และสภาองค์กรชุมชนเขตสายไหม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาศักยภาพ กลไกคณะทำงานระดับเขต สู่ความเข้าใจร่วมในการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบริบทต้นทุนทางสังคมของเขตสายไหม ด้านประชากร ด้านสุขภาพ และข้อมูลชุมชน โดยจะส่งผ่านข้อมูลพื้นฐานชุมชนให้ มรภ.พระนคร จัดทำกลุ่มประเด็นจากฐานข้อมูลเบื้องต้น ก่อนจะร่วมกันเติมเต็มข้อมูลและออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนประเด็นต่อไป ครั้งที่ 17 : วันที่ 24 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตวังทองหลาง” ณ สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานสภาองค์กรชุมชนเขตวังทองหลาง และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เพื่อวางระบบและแผนงานการจัดการข้อมูล วิเคราะห์ทุนทางสังคม กลไก บทบาทในพื้นที่ เพื่อจัดทำและขับเคลื่อนงานการมีส่วนร่วม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับทุนศักยภาพชุมชน สังเคราะห์ปัญหา และความต้องการชุมชน ครั้งที่ 18 : วันที่ 25 ก.พ. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวิน สำนักงานเขตภาษีเจริญ สถานีกาชาดที่ 11 (วิเศษนิยม) สภากาชาดไทย เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ Migrant Working Group พระนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และสถานี โทรทัศน์ไทยพีบีเอส ลงพื้นที่เพื่อมอบชุดธารน้ำใจกู้ชีวิตฝ่าวิกฤตโควิด - 19 และสื่อความรู้โควิด - 19 ให้แก่ ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงชาวเมียนมาที่ได้รับการกักกันตัวในสถานที่ควบคุมเป็นที่พักอาศัย (Home Quarantine) และแรงงานชาวเมียนมา ณ สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตภาษีเจริญ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพระนิสิตชาวเมียนมา ให้ความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษาทาง video call ในการป้องกันตนเองจากโควิด - 19 รวมทั้งมอบแอลกอฮอล์เจล หน้ากากอนามัย และสื่อความรู้ ครั้งที่ 19 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ระเบียบวาระว่าด้วยเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร หาบเร่แผงลอย ธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ กทม. ครั้งที่ 20 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอำนวยการพัฒนาสุขภาวะเขตพื้นที่ กทม.” ณ อาคารสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ กทม. รอง ผอ.สำนักพัฒนาสังคม หัวหน้าฝ่าย สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักอนามัย ผู้แทน กขป. สปสช. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ทั้ง 5 แห่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพื้นที่นำร่อง 13 เขต และหารือทิศทางและกลยุทธ์การจัดเวทีเสริมพลังในระดับมหานคร ครั้งที่ 21 : วันที่ 11 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตดอนเมือง” ณ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีหัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เป็นประธาน พร้อมประธานชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คณาจารย์ มรภ.สวนสุนันทา และ ดร.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร (กขป. กทม.) ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ประเด็น รวมไปถึงการวิเคราะห์ ผู้เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลสู่การยกร่างธรรมนูญสุขภาพเขตดอนเมือง ในการนี้ให้ความสำคัญในกลไก พชข. และผู้นำ node ชุมชน 95 ชุมชน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 เมษายน ถือเป็นเวทีที่ 3 สู่การแปลงข้อมูลสู่ร่างนโยบายสาธารณะระดับเขต ครั้งที่ 22 : วันที่ 11 - 12 มี.ค. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรต่างด้าวในชุมชน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขต บางบอน บางแค บางขุนเทียน จอมทอง ภาษีเจริญ และหนองแขม ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค โดยมี พญ.อริศรา ทัตตากร ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย เป็นประธานและบรรยายพิเศษ เรื่อง “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” ครั้งที่ 23 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 24 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 25 : วันที่ 23 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะทำงานพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตทุ่งครุ” ณ สำนักงานเขตทุ่งครุ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ชมผู้สูงอายุ ประธานสภาองค์กรชุมชนเขต พร้อมด้วยประธานชุมชนแขวง รอง ผอ.สถาบันวิจัย มรภ.ธนบุรี ร่วมกันพิจารณาแผนและกรอบทิศทางการพัฒนาธรรมนูญฯ ของเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 26 : วันที่ 30 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 27 : วันที่ 29 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพื้นที่ 13 ครั้งที่ 2/2564”ประชุมออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 28: วันที่ 30 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 3/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพ มหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร และระบบออนไลน์ โปรแกรม ZOOM โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพ-มหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 29: วันที่ 17 พ.ค. 2564 "ประชุมอนุกรรมการวิชาการสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 5/2564" ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร , สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน
กิจกรรมหรือโครงการที่ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครด้านสุขภาพ หมายถึง การประสานความร่วมมือและบูรณาการการทำงาน โดยร่วมดำเนินการในกิจกรรมหรือโครงการด้านสุขภาพ ร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร
จำนวนครั้งของกิจกรรมหรือโครงการที่ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครด้านสุขภาพ
แบบฟอร์มรายงานโครงการที่ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครด้านสุขภาพ รวบรวมโดยกลุ่มงานสาธารณสุขชุมชน กองสร้างเสริมสุขภาพ
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี |