รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค (ผลลัพธ์) : 0800-6624

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 98.53

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
98.84
0
0 / 0
3
98.53
0
0 / 0
4
98.53
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการยื่นซองประกวดราคาจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำแผน กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ และขออนุมัติงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประกาศเชิญชวนลงเว็ปไซต์ของกรมบัญชีกลาง และยื่นซองประกวดราคาจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 – 19 มีนาคม 2564 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 258 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 255 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.84 -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 – 14 พฤษภาคม 2564 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 1,831 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 1,804 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.53-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholera โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 – 20 สิงหาคม 2564 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 2,850 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 2,808 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.53-//-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.ตัวอย่างอาหาร หมายถึง ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจจากแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขต 2. เชื้อโรค หมายถึง เชื้อที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonellaspp.,S. aureus และ V.cholerae 3. ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค หมายถึง การปนเปื้อนเชื้อโรคไม่เกินเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาตามประกาศกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ฉบับปัจจุบัน กรณีพบการปนเปื้อนเชื้อโรค ให้เจ้าพนักงานออกคำแนะนำหรือออกคำสั่งให้ผู้ประกอบการอาหารดำเนินการปรับปรุงแก้ไข

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนตัวอย่างอาหารที่ตรวจวิเคราะห์ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคคูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง