รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

5. จำนวนอาคารที่มีความเสี่ยงและความล่อแหลมที่จะเกิดอุบัติภัยได้รับการรณรงค์ส่งเสริมและแก้ไขให้ถูกต้อง (เจรจาตกลง) : 1000-0986

ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า (อาคาร) : 170

ผลงานที่ทำได้ ไม่น้อยกว่า (อาคาร) : 215

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่า (อาคาร))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
45.00
100
100 / 100
3
60.00
100
100 / 100
4
215.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลอาคารที่จะต้องรณรงค์ให้ยื่นตรวจสอบอาคาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ได้มีหนังสือให้เจ้าหน้าที่สำนักงานควบคุมอาคารประชาสัมพันธ์และเข้าตรวจสอบอาคารกับเจ้าของอาคารที่เข้าข่ายตามกฎกระทรวงแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- อยู่ระหว่างรณรงค์ให้กับเจ้าของ/ผู้ดูแลอาคารที่เข้าข่ายให้ยื่นตรวจสอบอาคารตามกฎกระทรวง ดำเนินการแล้ว 45 อาคาร คิดเป็น ร้อยละ 24.47 ของเป้าหมาย (เนื่องจากการสถานการณ์ของ การระบาดของไวรัส Covid-19 ทำให้การลงพื้นที่รณรงค์ต้องหยุดลงช่วงหนึ่ง ซึ่งมีแผนจะลงพื้นที่รณรงค์ต่อในเดือนกรกฎาคม 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักการโยธา รณรงค์/ส่งเสริม/แนะนำ ให้กับอาคารที่มีความเสี่ยงและความล่อแหลมที่จะเกิดอุบัติภัย ให้แก้ไขให้ถูกต้อง จำนวน 215 อาคาร ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ126.47

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การส่งเสริม หมายถึง เกื้อหนุนหรือสนับสนุนให้ดีขึ้น โดยต้องมีกิจกรรมส่งเสริม/รณรงค์ให้กับเจ้าของอาคารสุงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษที่ไม่อยู่ในบังคับกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ปรับปรุงแก้ไขอาคารให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540) ทั้งนี้ เพื่อเป็นการลดลงของจำนวนอาคารที่มีความเสี่ยงและความล่อแหลมที่จะเกิดอุบัติภัยกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ได้กำหนดให้อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ต้องมีระบบป้องกันเพลิงไหม้ ประกอบด้วย ระบบท่อยืน ที่เก็บน้ำสำรอง และหัวรับน้ำดับเพลิง ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ต้องมีช่องทางสำหรับบุคคลภายนอกเข้าไปบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดในอาคารได้ทุกชั้น ต้องมีที่ว่างสำหรับทางหนีไฟทางอากาศ ฯลฯ ทำให้อาคารที่ก่อสร้างก่อนการบังคับใช้กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) นั้น มีสภาพหรือการใช้ที่อาจไม่ปลอดภัยจากอัคคีภัย ซึ่งกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540) ได้ให้อำนาจเจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร ดำเนินการแก้ไขอาคารให้มีระบบความปลอดภัย เช่น ติดตั้งแบบแปลน แผนผังของอาคารแต่ละชั้น ติดตั้งเครื่องดับเพลิง ติดตั้งระบบไฟส่องสว่าง ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า เป็นต้น

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. จำนวนอาคารที่ได้รับการรณรงค์ให้ปรับปรุงแก้ไขอาคารให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540) ไม่น้อยกว่า 150 อาคาร 2. หนังสือ/เอกสารหลักฐานขั้นตอนการดำเนินคดี

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๕ - สิ่งก่อสร้างปลอดภัย
:๑.๕.๑ กรุงเทพมหานครมีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ ปลอดจากอุบัติภัยจาก สิ่งปลูกส%
:๑.๕.๑.๑ ลดจำนวนอุบัติภัยอันเกิดจากสิ่งก่อสร้างประเภทอาคาร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง