รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของจำนวนภาษีค้างลดลง : 1400-2018

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 5

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
95
95 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
0.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-อยู่ระหว่างตรวจสอบข้อมูลลูกหนี้ค้างชำระภาษีที่ ได้รับจากการรายงานบัญชีลูกหนี้คางชำระภาษี ณ 30 กันยายน 2563 ของสำนักงานเขตแล้วนำเข้า ข้อมูลโดยจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลสารสนเทศแล้วเวียน แจ้งเขต (ร้อยละ 40 ของขั้นตอน การดำเนินงาน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างตรวจสอบข้อมูลลูกหนี้ค้างชำระภาษีที่ได้ รับจากการรายงานบัญชีลูกหนี้คางชำระภาษี ณ 30 กันยายน 2563 ของสำนักงานเขต แล้วนำเข้าข้อมูลโดยจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลสารสนเทศ แล้วเวียนแจ้งเขต(คิดเป็นร้อยละ 40 ของขั้นตอน การดำเนินงาน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างการดําเนินงานโดยนิติกรฝ่าย บังคับภาษี กองรายได้ ติดต่อลูกหนี้ภาษีมาพูดคุยไกล่เกลี่ยให้มา ชําระค่าภาษีค้าง โดยการสอบถามถึงสาเหตุที่ทําให้ ไม่สามารถชําระค่าภาษีค้างได้ พร้อมทั้ง เสนอแนะ แนวทางในการชําระค่าภาษีค้าง เพื่อไม่ต้องเข้าสู่ กระบวนการบังคับภาษี (คิดเป็นร้อยละ 60 ของ ขั้นตอนการดำเนินงาน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ภาษีค้าง หมายถึง ยอดภาษีค้างชำระ 4 ประเภท (ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง) ตามบัญชีลูกหนี้ ณ 30 กันยายน 2564

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

(ภาษีค้าง ณ 30 ก.ย. 63 - ภาษีค้าง ณ 30 ก.ย. 64) คูณ 100 หาร ภาษีค้าง ณ 30 ก.ย. 63

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ%
:๗.๔.๑.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง