รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

รายงานผลสำรวจพฤติกรรมและทัศนคติของผู้ขับขี่จักรยานยนต์บนทางเท้าในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมเผยแพร่ต่อสาธารณะ : 1500-1433

ค่าเป้าหมาย 1 ฉบับ และ 1 ช่องทางเผยแพร่ : 1

ผลงานที่ทำได้ 1 ฉบับ และ 1 ช่องทางเผยแพร่ : 30

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(1 ฉบับ และ 1 ช่องทางเผยแพร่)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
40.00
100
100 / 100
3
70.00
0
0 / 0
4
1.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ได้ดำเนินการศึกษาแนวทางการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน -ได้ขอความเห็นชอบแบบสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อผู้อำนวยสำนักเทศกิจ -จะทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในเดือน ม.ค.2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการทอดแบบสำรวจฯ เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนคำถามบางคำถาม เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหาร กทม.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทอดแบบสำรวจครั้งที่ 1 เดือนเม.ย.2563 ครั้งที่ 2 เดือน มิ.ย.63 ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูล และสรุปผลการสำรวจความคิดเห็น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการสำรวจพฤติกรรมและทัศนคติของผู้ขับขี่จักรยานยนต์บนทางเท้าในเขตกรุงเทพมหานคร และได้เผยแพร่ทางเว็บไซต์สำนักเทศกิจ เรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ผู้กระทำผิด หมายถึง บุคคลที่จอดรถ หรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า 2. สถิติผู้กระทำผิด หมายถึง - สถิติผู้กระทำผิดด้วยการจอดรถ หรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าในพื้นที่ 50 สำนักงานเขต ที่สำนักงานเขตตรวจพบ (จำแนกรายเดือน รายเขต รายปีงบประมาณ) - สถิติผู้กระทำผิดด้วยการจอดรถ หรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าในพื้นที่ 50 สำนักงานเขต ที่สำนักเทศกิจตรวจพบ (จำแนกรายเดือน รายเขต รายปีงบประมาณ) 3. ทางเท้า หมายถึง พื้นที่ที่ทำไว้สำหรับคนเดินซึ่งอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของทาง หรือทั้งสองข้างของทาง หรือส่วนที่อยู่ชิดขอบทางซึ่งใช้เป็นที่สำหรับคนเดิน (พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

การประเมินผลสัมฤทธิ์ พิจารณาจากความสำเร็จของงานตามตัวชี้วัด โดยใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขต และข้อมูลผลการดำเนินการตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ของสำนักเทศกิจ 1. ประเมินผลสำเร็จจากสถิติการกระทำผิดในพื้นที่ 50 เขต ซึ่งตรวจพบโดยสำนักงานเขต วิธีการคำนวณ ((จำนวนผู้กระทำผิดที่สำนักงานเขตตรวจสอบพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - จำนวนผู้กระทำผิดที่สำนักงานเขตตรวจสอบพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) x 100) ÷ จำนวนผู้กระทำผิดที่สำนักงานเขตตรวจสอบพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมายเหตุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผู้กระทำผิดด้วยการจอดรถ หรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าที่สำนักงานเขตตรวจสอบพบ มีจำนวนทั้งสิ้น ....... ราย 2. ประเมินผลสำเร็จจากสถิติการกระทำผิดในพื้นที่ 50 เขต ที่สำนักเทศกิจตรวจสอบพบ และประสานสำนักงานเขตดำเนินการแก้ไข วิธีการคำนวณ ((จำนวนผู้กระทำผิดที่สำนักเทศกิจตรวจสอบพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - จำนวนผู้กระทำผิดที่สำนักเทศกิจตรวจสอบพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) x 100) ÷ จำนวนผู้กระทำผิดที่สำนักเทศกิจตรวจสอบพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมายเหตุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนักเทศกิจตรวจสอบพบผู้กระทำผิด/ฝ่าฝืน จำนวน 1,489 ราย เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด การให้คะแนนตัวชี้วัด จะใช้ข้อมูลผลสำเร็จจากการดำเนินการตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ของสำนักเทศกิจ (ตามข้อ 2) เท่านั้น และจะคิดคะแนนที่ได้โดยใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์ หากผลการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 5

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. รายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน 2. รูปถ่าย

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง