ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
กิจกรรมการสำรวจความพึงพอใจจากการตอบแบบสอบถามผู้ประสบภัยที่ได้รับการช่วยเหลือ โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ จำนวน 10 ข้อ มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 63 ราย สรุปมีผลคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็น 5,783 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5,800 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 99.71 ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.98 จากค่าคะแนนเฉลี่ยเต็ม 5 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 30
-สรุปผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัยประจำเดือนมีนาคม 2563 มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 164 ราย โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ จำนวน 10 ข้อ สรุปมีผลคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็น 7,876 คะแนนจากคะแนนเต็ม 8,200 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 96.04 ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.8 จากค่าคะแนนเฉลี่ยเต็ม 5 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 52
- สรุปผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัยประจำเดือนมิถุนายน 2563 มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 44 ราย โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ จำนวน 10 ข้อ สรุปมีผลคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็น 2,194 คะแนน จากคะแนนเต็ม 2,200 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 99.73 ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.99 จากค่าคะแนนเฉลี่ยเต็ม 5 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 76
-สรุปผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ประจำเดือนกันยายน 2563 มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 72 ราย โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ จำนวน 10 ข้อ สรุปมีผลคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็น 3,573 คะแนน จาก 3,600 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 99.25 ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.96 จากค่าคะแนนเฉลี่ยเต็ม 5 ค่าเป้าหมายร้อยละ 80 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 100
นิยาม 1. ผู้ประสบภัย หมายถึง ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนจากสาธารณภัยและได้รับการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อน 2. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจในการได้รับบริการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายบรรเทาผู้ประสบภัย โดยคิดจากความพึงพอใจที่ได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายบรรเทาผู้ประสบภัยใน 10 ประเด็น ได้แก่ การให้คำแนะนำ ความสะดวกรวดเร็ว ความมุ่งมั่นเต็มใจบริการ การให้บริการตามสิทธิ ความสุภาพเป็นมิตร ระยะเวลาและขั้นตอน ลำดับการให้บริการ การประชาสัมพันธ์ การอำนวยความสะดวก และการให้บริการครอบคลุมผู้ประสบภัยทุกกลุ่มเป้าหมาย
วิธีการคำนวณ สรุปจากแบบสำรวจความพึงพอใจแก่ผู้ประสบภัยที่ได้รับการช่วยเหลือ = ผลรวมของคะแนนรายข้อ (ความถี่ x ค่าคะแนน) คะแนนเต็ม = ค่าคะแนน x จำนวนข้อ x จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
3. การจัดเก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม ตามจำนวนผู้ขอรับความช่วยเหลือ โดยแบ่งระดับความพึงพอใจเป็น 5 ระดับ โดยแบ่งระดับดังนี้ • พึงพอใจมากที่สุด = 5 คะแนน • พึงพอใจมาก = 4 คะแนน • พึงพอใจปานกลาง = 3 คะแนน • พึงพอใจน้อย = 2 คะแนน • พึงพอใจน้อยที่สุด = 1 คะแนน
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ |
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ |