รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

3.3 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ร้อยละ 6) : 1900-0780

ค่าเป้าหมาย ร่้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร่้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร่้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
80.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมการสำรวจความ พึงพอใจจากการตอบแบบ สอบถามโดยคณะผู้ตรวจราชการ อยู่ระหว่างปรับแบบสอบถามความพึงพอใจสำหรับการสำรวจความพึงพอใจครั้งที่ 1 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- อยู่ระหว่างขั้นตอนการรับผลสำรวจความพึงพอใจครั้งที่ 1 และเตรียมการสำรวจความพึงพอใจครั้งที่ 2 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 60

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- อยู่ระหว่างขั้นตอนการสำรวจความพึงพอใจจากผู้รับบริการ ครั้งที่ 2 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สปภ.ได้รับคะแนนความพึงพอใจจากผู้รับบริการใน การสำรวจประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เฉลี่ยคะแนนที่ได้จากการสำรวจทั้งสองครั้งในระดับ มาก ที่คะแนนเฉลี่ย 3.908 ประเด็นที่ได้รับความพึง พอใจสูงสุด คือ ด้านอัธยาศัยของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการได้รับความพึง พอใจที่ระดับ 4.107 และประเด็นที่ได้รับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านบริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้รับความพึงพอใจที่ระดับ 3.703 ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม ความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานผู้รับบริการ คือประชาชนผู้มารับบริการโดยตรงหรือบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการทั้งภายในและภายนอกมีความพึงพอใจ -การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการบริการของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร เป็นการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง ครอบคลุมประเด็นต่างๆ เช่น ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ, ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ, ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์, ดวามพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก, คงามพึงพอใจในการปฏิบัติงานแก้ไจปัญหาต่างๆ ของหน่วยงาน, ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ สำรวจความพึงพอใจ 2 ครั้ง นำผลคะแนนมารวมกันทั้ง 2 ครั้ง หาร 2 และใช้จุดทศนิยม 3 ตำแหน่ง ได้เป็นคะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

- มีการสำรวจความพึงพอใจ 2 ครั้ง และนำผลคะแนนมาหารจำนวนครั้งที่สำรวจ เป็นผลการประเมินปลายปี - แบบสำรวจความพึงพอใจของผู้บริการเป็นไปตามที่ผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานครกำหนดและเป็นผู้ประเมินคะแนน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง