รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพ : 2400-1014

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 75

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 81.83

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
79.93
100
100 / 100
2
80.43
100
100 / 100
3
81.34
100
100 / 100
4
81.83
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 816,053 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,020,917 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 79.93

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร และได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 821,170 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,020,917 คน (821,170 / 1,020,917)x100 = 80.43%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร และได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 830,419 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,020,917 คน (830,419 / 1,020,917)x100 = 81.34%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครและได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีจำนวน 835,373 คน 2. จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด มีจำนวน 1,020,917 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานคร - การจัดสรรเบี้ยยังชีพ หมายถึง การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุรายเดือนแบบขั้นบันไดให้แก่ผู้สูงอายุที่ลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพปีงบประมาณ 2562 (ภายในวันที่ 1-30 พฤศจิกายน 2560 และวันที่ 1 มกราคม – 30 กันยายน 2561) ที่มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพและ ได้เข้ากระบวนการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2562 ยกเว้นผู้สูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอยู่ในปัจจุบัน แต่มีรายได้ที่เพียงพอ รวมถึงผู้ที่ขึ้นทะเบียนขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ แจ้งความประสงค์ที่จะบริจาคเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเข้ากองทุนผู้สูงอายุ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2560 เห็นชอบให้ดำเนินโครงการภายใต้ชื่อ “โครงการบริจาคเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเข้ากองทุนผู้สูงอายุ”

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

(จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครและได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ / จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด) x 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง