รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของสินค้า/ผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตรที่ได้รับมาตรฐานปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐานปลอดภัยจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือหน่วยงานภายนอกอื่น ๆ : 2400-1033

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 15

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
100
100 / 100
4
0.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรของกรุงเทพมหานคร 2.จัดประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 และกำหนดจะจัดประชุมครั้งที่ 2 ในวันที่ 26 ธันวาคม 2562 3.กำหนดอบรมให้ความรู้ด้านมาตรฐานแก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกรในวันที่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงแรมปริ๊นตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการจัดทำแผนลงพื้นที่ตรวจติดตามและประเมินผล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักพัฒนาสังคมไม่สามารถดำเนินโครงการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19)และคืนเงินให้สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ได้ดำเนินการอบรมสร้างความเข้าใจเรื่องให้แก่เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรจากสำนักงานเขตและสำนักพัฒนาสังคม จำนวน 99 คน เมื่อวันที่ 30 ม.ค.2563 ณ โรงแรมปริ๊นส์ตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ 2. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานฯ และได้จัดประชุมแล้ว จำนวน 3 ครั้ง 3. ได้ข้อกำหนดมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของ กทม.แล้ว อยู่ระหว่างจัดทำแบบฟอร์มต่างๆ และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมิน 4. ได้คืนเงินงบประมาณในการดำเนินโครงการตามนโยบายผู้บริหาร เช่นค่าวัสดุ ค่าชุดตรวจสารเคมี ค่าใช้จ่ายในการอบรมทำความเข้าใจเกษตรกรให้เข้าร่วมโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตร หมายถึง ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตโดยเกษตรกรกรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม เช่น พืชผัก ผลไม้ข้าว ไม้ดอก ไม้ประดับ ประมง (ปลา กุ้ง หอย ฯลฯ) ปศุสัตว์ (นม เนื้อ แพะ แกะ ฯลฯ) 2. มาตรฐานปลอดภัยเป็นที่ยอมรับจากตลาด/ผู้บริโภค หมายถึง ได้รับการรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานภายนอก เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (GAP, Q) สำนักงานอาหารและยา (อย.) เป็นต้น และหน่วยงานภายในของกรุงเทพมหานครได้มีการวางจำหน่ายเป็นที่ยอมรับจากตลาดผู้บริโภคทั่วไป

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมาตรฐานปลอดภัย x 100 / จำนวนชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมฯ ทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๖ – มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ : Bangkok as an Economic and Learning Centre
:๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน
:๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ%
:๖.๑.๑.๑ สนับสนุนการประกอบธุรกิจ และพัฒนาผลิตผลการเกษตร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง