รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5001-0733

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
75.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการสำรวจพื้นที่สีเขียวและรายงานจำนวน 1 ครั้ง (ธ.ค. 61) ตามที่ตกลงกับสำนักสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีการสำรวจพื้นที่สีเขียวและรายงานจำนวน 2 ครั้ง (ธ.ค. และ มี.ค.) ตามที่ตกลงกับสำนักสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการสำรวจพื้นที่สีเขียวและรายงานจำนวน 3 ครั้ง (ธ.ค. มี.ค. และ มิ.ย.) ตามที่ตกลงกับสำนักสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีการสำรวจพื้นที่สีเขียวและรายงานจำนวน 4 ครั้ง (ธ.ค. มี.ค. มิ.ย. และ ก.ย.) ครบตามที่ตกลงกับสำนักสิ่งแวดล้อม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียว หมายความว่า พื้นที่ตามแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ปี 2546 กำหนด ประกอบด้วย 10 ประเภท แบ่งเป็น 2 ประเภทหลักคือ 1.พื้นที่สีเขียวที่อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ค่าเป้าหมายเกิดจากการเจรจา ตกลงร่วมระหว่าง สำนักงานเขตและสำนักงานสาวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมภายใต้ค่าเป้าหมายสีเขียว ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี ซึ่งกำหนดจากค่าคาดการณ์พื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556-2575 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ สำนักงานเขตสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี กรณีสำนักงานเขตที่ได้รับการยกเว้นตามข้อ 2 ให้เปลี่ยนไปใช้การประเมินด้วยการรายงานหารเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค., มี.ค., มิ.ย., ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนสาธารณะกำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

พื้นที่ตามแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ปี 2546 กำหนด ประกอบด้วย 10 ประเภท แบ่งเป็น 2 ประเภทหลักคือ 1.พื้นที่สีเขียวที่อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ค่าเป้าหมายเกิดจากการเจรจา ตกลงร่วมระหว่าง สำนักงานเขตและสำนักงานสาวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมภายใต้ค่าเป้าหมายสีเขียว ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี ซึ่งกำหนดจากค่าคาดการณ์พื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556-2575 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ สำนักงานเขตสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี กรณีสำนักงานเขตที่ได้รับการยกเว้นตามข้อ 2 ให้เปลี่ยนไปใช้การประเมินด้วยการรายงานหารเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค., มี.ค., มิ.ย., ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนสาธารณะกำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

พื้นที่ตามแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ปี 2546 กำหนด ประกอบด้วย 10 ประเภท แบ่งเป็น 2 ประเภทหลักคือ 1.พื้นที่สีเขียวที่อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ค่าเป้าหมายเกิดจากการเจรจา ตกลงร่วมระหว่าง สำนักงานเขตและสำนักงานสาวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมภายใต้ค่าเป้าหมายสีเขียว ตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี ซึ่งกำหนดจากค่าคาดการณ์พื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556-2575 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ สำนักงานเขตสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี กรณีสำนักงานเขตที่ได้รับการยกเว้นตามข้อ 2 ให้เปลี่ยนไปใช้การประเมินด้วยการรายงานหารเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค., มี.ค., มิ.ย., ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนสาธารณะกำหนด

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง