รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

9. ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 9.1 จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - 3 ช่องทาง 9.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - ร้อยละ 80 : 5001-0758

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 6 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line แจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่ออกเยี่ยมชุมชนตามแผนตรวจเยี่ยมชุมชน และการสำรวจความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากแบบสอบถามจำนวน 411 ฉบับ ผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน เท่ากับ ร้อยละ 90.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ หมายถึง ระยะเวลาการรับลงทะเบียนฯ, ช่วงอายุที่ถึงเวลาการมาลงทะเบียนฯ และข่าวสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (ถ้ามี) 2. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของผู้มาพบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อขอรับบริการด้านเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (โดยแบบประเมินความพึงพอใจ)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1.นับจำนวนช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์การรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ที่ได้ทำการสื่อสารให้ประชาชนได้รับทราบ 2.ผลรวมคะแนนทั้งหมด หารด้วย ผลรวมของคะแนนเต็ม คูณด้วย 100 ผลรวมคะแนนทั้งหมด = ค่าคะแนน X ความถี่ของแต่ละระดับที่เลือกตอบแต่ละรายการประเมิน ผลรวมของคะแนนเต็ม = คะแนนสูงสุด X จำนวนข้อ X จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1.สำเนาหลักฐานการประชาสัมพันธ์ 2.รายงานสรุปการประชาสัมพันธ์การลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 3.แบบสอบถาม และรายงานสรุปผลการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง