รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5004-886

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 102.78

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
102.78
100
100 / 100
4
102.78
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ออกสำรวจพื้นที่ว่างหรือพื้นที่ที่ต้องพัฒนาในพื้นที่เขตบางรัก เพื่อจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เจ้าหน้าที่ออกสำรวจพื้นที่บริเวณ - โครงการดุสิต เซ็นทรัล พาร์ค ขนาด 321.50 ตร.ว. - ร้านอาหารเรือนนพเก้า ขนาด 57.50 ตร.ว. - ภัตตาคารอาหารฝรั่งเศส (Brasserie 9) ขนาด 47 ตร.ว. - โครงการ Samyan Business Town ขนาด 114.63 ตร.ว. รวมจำนวน 1 ไร่ 1 งาน 40.60 ตร.ม. เพื่อจัดทำสวนแนวตั้ง (เอกชนดำเนินการแล้ว) และฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ได้จัดทำหนังสือเรียน ผอ. สสล. เรื่อง แจ้งการสำรวจพื้นที่เพื่อประเมินศักยภาพ ในการพัฒนาพื้นที่ตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อนำมาพัฒนาให้บริการประชาชน ประจำปี 2564 ทราบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือ กท 4306/618 ลว. 16 ก.พ. 64

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เจ้าหน้าที่ออกสำรวจพื้นที่สีเขียวเพิ่มเติม บริเวณสวนหย่อมขนาดเล็ก บ้านเลขที่ 35 ถนนสาทร ซ. 6 ขนาด 15 ตร.ว.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละ 100 ตามที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด คือ 2,162.40 ตารางเมตร พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น ปี 2564 จำนวน 5 แห่ง 1. โครงการดุสิต เซ็นทรัล พาร์ค ขนาด 321.50 ตารางวา 2. ร้านอาหารเรือนนพเก้า ขนาด 57.50 ตารางวา 3. ภัตตาคารอาหารฝรั่งเศส (Brasserie 9) ขนาด 47 ตารางวา 4. โครงการ Samyan Business Town ขนาด 114.63 ตารางวา 5. สวนหย่อมขนาดเล็ก บ้านเลขที่ 35 ถนนสาทร ซอย 6 ขนาด 15 ตารางวา รวม 5 แห่ง ขนาดพื้นที่ 1 ไร่ 1 งาน 55.63 ตารางวา คิดเป็น 2,222.52 ตารางเมตร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภท แยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100% รวม 200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่าย ทั้งนี้หักข้อละ 1% ของคะแนนที่ได้รับ 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละ สำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก “โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง