รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี : 5004-888

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00
100
100 / 100
2
2.00
100
100 / 100
3
2.00
100
100 / 100
4
5.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ตรวจสอบสถานประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 60 ร้าน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซุปเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก จำนวน 267 ร้าน - ตรวจประเมินรับรองมาตรฐานฯ จำนวน 195 ร้าน (จาก 809 ร้าน) - ตรวจสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต จำนวน 71 ราย (ผ่านการตรวจคุณภาพฯ ทั้งหมด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ตรวจวิเคราะห์ และประเมินคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซุปเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก จำนวน 386 ร้าน (จาก 785 ร้าน) - ตรวจสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต จำนวน 83 ราย (ผ่านการตรวจคุณภาพฯ ทั้งหมด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ตรวจวิเคราะห์ และประเมินคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซุปเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก จำนวน 624 ร้าน (จาก 733 ร้าน) - ตรวจสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต จำนวน 87 ราย (ผ่านการตรวจคุณภาพฯ ทั้งหมด)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 50 เขต 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 2.1 ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) 2.2 ด้านคุณภาพอาหาร (Food) 2.3 ด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BMA Food Safety Application

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง