รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย : 5008-0810

ค่าเป้าหมาย จำนวน (ครั้ง) : 5

ผลงานที่ทำได้ จำนวน (ครั้ง) : 3

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน (ครั้ง))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
3.00
100
100 / 100
3
3.00
100
100 / 100
4
3.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดจัดกิจกรรมวันเด็ก วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมเวียนเทียนวันมาฆบูชา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมวันมาฆบูชา กิจกรรมวันวิสาขบูชา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- งดจัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การจัดกิจกรรมวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย หมายถึง การจัดกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญต่าง ๆ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นเขตพญาไทให้ตระหนักคุณค่าที่จะรักษาไว้ให้คงอยู่และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและความสามัคคีระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนการจัดกิจกรรมวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยของเขตพญาไท ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

แบบรายงาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม
:๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ%
:๓.๔.๑.๔ รณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรมแก่ประชาชนในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง