ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 64 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265แห่ง)
ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 107 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265 แห่ง)
ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 179 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265 แห่ง)
ตรวจแนะนำ ประเมินด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารจำนวน 240 แห่ง (จากจำนวนทั้งหมด 265 แห่ง แจ้งเลิกกิจการ 25 แห่ง เหลือ 240 แห่ง)
1.สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขตที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้ง ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2.เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคาร สถานที่ ด้านอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร
วิธีการคำนวณ จำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคหรือสารพิษ คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนตัวอย่างอาหารที่ทำการตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด
1.จัดเก็บข้อมูลที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ 2.รายงานผลการดำเนินงานสำนักอนามัย
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |