ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 67.34
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างการเตรียมความพร้อมก่อนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562
ผ่านการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 เรียบร้อยแล้ว มีโรงเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยทั้ง 4 วิชาสูงกว่าระดับประเทศ จำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดบางสะแกนอก และโรงเรียนกันตทาราราม
โรงเรียนนำผลคะแนนเฉลี่ยไปสรุปผล วิเคราะห์จุดบกพร่องเพื่อเตรียมความพร้อมในการทดสอบปีการศึกษา 2563
สรุปคะแนนเฉลี่ยระดับเขต ปีการศึกษา 2562 วิชา คะแนน คะแนน ร้อยละ คะแนน เป้าหมาย ความสำเร็จ ความสำเร็จ ตัวชี้วัด รายวิชา รายวิชา บูรณาการ ภาษาไทย 49.78 49.60 100 2.00 ภาษาอังกฤษ 32.31 46.27 69.83 1.40 คณิตศาสตร์ 32.36 47.49 68.15 1.36 วิทยาศาสตร์ 35.07 47.57 73.72 1.47 คะแนนรวมระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 = 6.73 คะแนนสำนักงานเขต = 6.73 ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต = 67.34
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับหน่วยงาน ทุกรายวิชาที่สอบ คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา - มีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด หมายถึง ระดับ วิชา คะแนนเฉลี่ยเป้าหมาย ประถมศึกษาปีที่ ๖ คณิตศาสตร์ ๔๗.๔๙ วิทยาศาสตร์ ๔๗.๕๗ ภาษาอังกฤษ ๔๖.๒๗ ภาษาไทย ๔๙.๖๐ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ คณิตศาสตร์ ๔๓.๗๒ วิทยาศาสตร์ ๔๕.๘๙ ภาษาอังกฤษ ๔๔.๓๓ ภาษาไทย ๔๗.๙๘ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ คณิตศาสตร์ ๔๒.๔๓ วิทยาศาสตร์ ๔๔.๕๘ ภาษาอังกฤษ ๔๓.๐๘ ภาษาไทย ๔๘.๙๑ สังคมศึกษา ๔๕.๗๘
วิธีการคำนวณ : ๑. หาร้อยละความสำเร็จรายวิชาแยกตามระดับชั้น โดยนำคะแนนเฉลี่ยรายวิชาระดับหน่วยงาน เทียบกับคะแนนเฉลี่ยเป้าหมายรายวิชา ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยรายวิชาระดับหน่วยงาน x ๑๐๐ คะแนนเฉลี่ยเป้าหมายรายวิชา เกณฑ์การให้คะแนนความสำเร็จรายวิชา ๑.๑ ชั้น ป.๖ และ ม.๓ ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๒ คะแนน (๔ วิชา) ร้อยละความสำเร็จรายวิชาแยกตามระดับชั้น x ๒ ๑๐๐ ๑.๒ ชั้น ม.๖ ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๑.๕ คะแนน (๕ วิชา) ร้อยละความสำเร็จรายวิชาแยกตามระดับชั้น x ๑.๕ ๑๐๐ ๒. หาพัฒนาการรายวิชาแยกตามระดับชั้น โดยนำคะแนนเฉลี่ยรายวิชาระดับหน่วยงาน เทียบกับคะแนนเฉลี่ย ๕ ปี (ปีการศึกษา ๒๕๕๖ -๒๕๖๐) เกณฑ์การให้คะแนนพัฒนาการรายวิชา การพัฒนาการ คะแนนที่ได้ สำนักงานเขตมีคะแนนเฉลี่ยรายวิชาปีการศึกษา ๒๕๖๑ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ๕ ปี (ปีการศึกษา ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ๐.๕ สำนักงานเขตมีคะแนนเฉลี่ยรายวิชาปีการศึกษา ๒๕๖๑ เท่ากับคะแนนเฉลี่ย ๕ ปี (ปีการศึกษา ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ๐.๒๕ สำนักงานเขตมีคะแนนเฉลี่ยรายวิชาปีการศึกษา ๒๕๖๑ ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ๕ ปี (ปีการศึกษา ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ๐ ๓. หาคะแนนรวมแต่ละระดับชั้น (๑๐ คะแนน) ดังนี้ ๓.๑ คะแนนรวมแต่ละระดับชั้น ป.๖ และ ม.๓ = (คะแนนผลสัมฤทธิ์ วิชาที่ ๑+๒+๓+๔) + (คะแนนพัฒนาการวิชาที่ ๑+๒+๓+๔) ๓.๒ คะแนนรวมแต่ละระดับชั้น ม.๖ = (คะแนนผลสัมฤทธิ์วิชาที่ ๑+๒+๓+๔+๕) + (คะแนนพัฒนาการวิชาที่ ๑+๒+๓+๔+๕) ระดับ วิชา ความสำเร็จ รายวิชา (ร้อยละ ๘๐/๗๕) พัฒนาการ รายวิชา (ร้อยละ ๒๐/๒๕) คะแนนรวม หน่วยงาน ป.๖ คณิตศาสตร์ ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน คะแนนรวม ระดับชั้น ป.๖ (๑๐ คะแนน) วิทยาศาสตร์ ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน ภาษาอังกฤษ ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน ภาษาไทย ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน ม.๓ คณิตศาสตร์ ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน คะแนนรวม ระดับชั้น ม.๓ (๑๐ คะแนน) วิทยาศาสตร์ ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน ภาษาอังกฤษ ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน ภาษาไทย ๒ คะแนน ๐.๕ คะแนน ม.๖ คณิตศาสตร์ ๑.๕ คะแนน ๐.๕ คะแนน คะแนนรวม ระดับชั้น ม.๖ (๑๐ คะแนน) วิทยาศาสตร์ ๑.๕ คะแนน ๐.๕ คะแนน ภาษาอังกฤษ ๑.๕ คะแนน ๐.๕ คะแนน ภาษาไทย ๑.๕ คะแนน ๐.๕ คะแนน สังคมศึกษา ๑.๕ คะแนน ๐.๕ คะแนน ๔. หาคะแนนของหน่วยงาน (๑๐ คะแนน) ดังนี้ คะแนนหน่วยงาน : คะแนนรวมแต่ละระดับชั้น จำนวนระดับชั้นที่เปิดสอน ๕. หาร้อยละความสำเร็จของหน่วยงาน ดังนี้ ร้อยละความสำเร็จหน่วยงาน : คะแนนหน่วยงาน x ๑๐๐ ๑๐
คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับหน่วยงาน ทุกรายวิชาที่สอบ คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน |
:๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา% |
:๓.๓.๒.๑ โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก |