ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 5
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนตุลาคม 2562 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 39 ราย 2.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 78 ราย
1.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนธันวาคม 2562 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 20 ราย 2.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนมกราคม 2563 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 10 ราย 3.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 16 ราย
1.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนมีนาคม 2563 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 5 ราย 2.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนเมษายน 2563 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 2 ราย 3.รายงานสถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกประจำเดือนพฤษภาคม 2563 จากกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย พบว่าเขตบางกอกน้อยมีผู้ป่วยจำนวน 1 ราย
-
ชุมชน หมายถึง ชุมชนที่จัดตั้งตามระเบียบของกรุงเทพมหานครรายเขต ในพื้นที่เขตบางกอกน้อย มีทั้งหมด ๔๒ ชุมชน
๒. (จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๒ ลบ จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี ๒๕๖๓) คูณด้วย๑๐๐ หารด้วยจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๒ เกณฑ์การคิดคะแนน - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากฐานปี ๒๕๖๒ ร้อยละ ๕.๐–๑๐๐ ได้ ๕ คะแนน - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากฐานปี ๒๕๖๒ ร้อยละ ๔.๐–๔.๙ ได้ ๔ คะแนน - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากฐานปี ๒๕๖๒ ร้อยละ ๓.๐–๓.๙ ได้ ๓ คะแนน - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากฐานปี ๒๕๖๒ ร้อยละ ๒.๐–๒.๙ ได้ ๒ คะแนน - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากฐานปี ๒๕๖๒ ร้อยละ ๑.๐–๑.๙ ได้ ๑ คะแนน - จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากฐานปี ๒๕๖๒ น้อยกว่าร้อยละ ๑ ได้ ๐ คะแนน
เก็บข้อมูลจากสถิติผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก |