รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น : 5019-0820

ค่าเป้าหมาย จำนวนภูมิปัญญา : 3

ผลงานที่ทำได้ จำนวนภูมิปัญญา : 3

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวนภูมิปัญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.00
100
100 / 100
2
3.00
100
100 / 100
3
3.00
0
0 / 0
4
3.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ได้ดำเนินการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุและภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านของเขตบางกอกน้อย ประจำปี พ.ศ.2563 ระหว่างวันที่ 23-27 ธันวาคม 2562 ณ บริเวณชั้น 1 สำนักงานเขตบางกอกน้อย ซึ่งมีพิธีเปิดนิทรรศการในวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ทั้งนี้ ผู้ได้รับคัดเลือกให้เป็นภูมิปัญญาผู้สูงอายุของเขตบางกอกน้อย ประจำปี 2563 ได้แก่ นางเพยาว์ จันทร์สมบูรณ์ สาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม (งานปักเลื่อม) รวมทั้งมีภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่เขตบางกอกน้อย ร่วมจัดนิทรรศการด้วยอีก 2 ราย ได้แก่ 1. นางประภัสสร เฟื่องการกล ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านอาหาร (ขนมตาล ขนมเทียน ข้าวต้มมัด) 2. นางสาววราภรณ์ ศรีม่วง ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์ (หมวกพระเจ้าตาก) รวมจำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น 3 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ได้ดำเนินการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุและภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านของเขตบางกอกน้อย ประจำปี พ.ศ.2563 ระหว่างวันที่ 23-27 ธันวาคม 2562 ณ บริเวณชั้น 1 สำนักงานเขตบางกอกน้อย ซึ่งมีพิธีเปิดนิทรรศการในวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ทั้งนี้ ผู้ได้รับคัดเลือกให้เป็นภูมิปัญญาผู้สูงอายุของเขตบางกอกน้อย ประจำปี 2563 ได้แก่ นางเพยาว์ จันทร์สมบูรณ์ สาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม (งานปักเลื่อม) รวมทั้งมีภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่เขตบางกอกน้อย ร่วมจัดนิทรรศการด้วยอีก 2 ราย ได้แก่ 1. นางประภัสสร เฟื่องการกล ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านอาหาร (ขนมตาล ขนมเทียน ข้าวต้มมัด) 2. นางสาววราภรณ์ ศรีม่วง ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์ (หมวกพระเจ้าตาก) รวมจำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น 3 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ได้ดำเนินการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุและภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านของเขตบางกอกน้อย ประจำปี พ.ศ.2563 ระหว่างวันที่ 23-27 ธันวาคม 2562 ณ บริเวณชั้น 1 สำนักงานเขตบางกอกน้อย ซึ่งมีพิธีเปิดนิทรรศการในวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ทั้งนี้ ผู้ได้รับคัดเลือกให้เป็นภูมิปัญญาผู้สูงอายุของเขตบางกอกน้อย ประจำปี 2563 ได้แก่ นางเพยาว์ จันทร์สมบูรณ์ สาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม (งานปักเลื่อม) รวมทั้งมีภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่เขตบางกอกน้อย ร่วมจัดนิทรรศการด้วยอีก 2 ราย ได้แก่ 1. นางประภัสสร เฟื่องการกล ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านอาหาร (ขนมตาล ขนมเทียน ข้าวต้มมัด) 2. นางสาววราภรณ์ ศรีม่วง ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์ (หมวกพระเจ้าตาก) รวมจำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น 3 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ได้ดำเนินการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุและภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านของเขตบางกอกน้อย ประจำปี พ.ศ.2563 ระหว่างวันที่ 23-27 ธันวาคม 2562 ณ บริเวณชั้น 1 สำนักงานเขตบางกอกน้อย ซึ่งมีพิธีเปิดนิทรรศการในวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ทั้งนี้ ผู้ได้รับคัดเลือกให้เป็นภูมิปัญญาผู้สูงอายุของเขตบางกอกน้อย ประจำปี 2563 ได้แก่ นางเพยาว์ จันทร์สมบูรณ์ สาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม (งานปักเลื่อม) รวมทั้งมีภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่เขตบางกอกน้อย ร่วมจัดนิทรรศการด้วยอีก 2 ราย ได้แก่ 1. นางประภัสสร เฟื่องการกล ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านอาหาร (ขนมตาล ขนมเทียน ข้าวต้มมัด) 2. นางสาววราภรณ์ ศรีม่วง ภูมิปัญญาสาขาคหกรรม ด้านงานประดิษฐ์ (หมวกพระเจ้าตาก) รวมจำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น 3 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์และเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ปราชญ์ท้องถิ่น หมายถึง บุคคลที่เป็นเจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่เขต และนำภูมิปัญญาไปใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตจนประสบความสำเร็จ สามารถถ่ายทอดเชื่อมโยงคุณค่าของอดีตกับปัจจุบันได้เหมาะสม ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีสัญชาติไทย และอาศัยอยู่ในพื้นที่ การถ่ายทอด หมายถึง กระบวนการแบ่งปันความรู้จากคนหนึ่งไปยังอีกคน กลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่ม หรือจะเป็นจากองค์กรหนึ่งไปยังอีกองค์กร การเผยแพร่ หมายถึง กระบวนการที่ทำให้ภูมิปัญญาถูกนำไปถ่ายทอดผ่านช่องทางของการสื่อสารทุกช่องทางของสำนักงานเขต

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

๑. นับจากจำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่น หรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นใหม่ (๕ คะแนน) ดังนี้ - ไม่มีภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น ได้ ๐ คะแนน - ภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น ๑ ภูมิปัญญา ได้ ๑ คะแนน - ภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น ๒ ภูมิปัญญา ได้ ๓ คะแนน - ภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น ๓ ภูมิปัญญาขึ้นไป ได้ ๕ คะแนน ๒. นับจำนวนครั้งการถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นใหม่ (๕ คะแนน) ดังนี้ - ไม่มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น ได้ ๐ คะแนน - ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น ๑ ครั้ง ได้ ๑ คะแนน - ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น ๒ ครั้ง ได้ ๓ คะแนน - ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น ๓ ครั้ง ได้ ๕ คะแนน ๓. คะแนนที่ได้ = ข้อ ๑ + ข้อ ๒

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เก็บข้อมูลจากการค้นหาภูมิปัญญาในพื้นที่

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง