ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
-เจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่มีการติดตั้งตู้เขียว วันละอย่างน้อย 2 ครั้ง ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย -บันทึกเหตุการณ์ลงในสมุดตรวจตู้เขียว -รายงานเหตุการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตามแบบรายงานที่กำหนด -ระหว่างเดือน ต.ค.-ธ.ค.62 เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
-เจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่มีการติดตั้งตู้เขียว วันละอย่างน้อย 2 ครั้ง ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย -บันทึกเหตุการณ์ลงในสมุดตรวจตู้เขียว -รายงานเหตุการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตามแบบรายงานที่กำหนด -ระหว่างเดือน ม.ค.-มี.ค.63 เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
-เจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่มีการติดตั้งตู้เขียว วันละอย่างน้อย 2 ครั้ง ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย -บันทึกเหตุการณ์ลงในสมุดตรวจตู้เขียว -รายงานเหตุการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตามแบบรายงานที่กำหนด -ระหว่างเดือน เม.ย.-มิ.ย. 63 เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
-เจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่มีการติดตั้งตู้เขียว วันละอย่างน้อย 2 ครั้ง ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย -บันทึกเหตุการณ์ลงในสมุดตรวจตู้เขียว -รายงานเหตุการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตามแบบรายงานที่กำหนด -ระหว่างเดือน ก.ค.-ก.ย.63 เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการ เกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2562 ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะท้างานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2562 2. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจท้าให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3. การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยตาม แต่ละสภาพพื้นที่นั้น ๆ
มีการจัดทำแผนการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม และเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยตามเงื่อนไขการลดความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม ที่กรุงเทพมหานครกำหนด และดำเนินการตามแผนดังกล่าว ดังนี้ 2.1 การปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย 2.1.1 ฝ่ายรักษาความสะอาดมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอ้านาจหน้าที่ดำเนินการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 ฝ่ายโยธามีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มี อ้านาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง ติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) และดำเนินการอื่น ที่เกี่ยวข้อง 2.1.3 ฝ่ายเทศกิจมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอ้านาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย 2.2.1 มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตรา พื้นที่เสี่ยงภัย จ้านวนอย่างน้อย 2 ครั้ง/จุด/วัน 2.2.2 มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบประสิทธิภาพ การท้างานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน 2.3 มีการรวบรวมและสรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นรายเดือน
รายงานให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบเป็นรายเดือน พร้อมภาพถ่าย
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |