ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
เร่งรัดส่วนราชการทั้ง 16 แห่ง สังกัดสำนักงานเขตหนองแขม ในการจัดส่งรายงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การบริหารความเสียง การควบคุมความเสีย่ง ตามขั้นตอนที่ 1 และได้รวบรวมรายงานผู้บังคับบัญชาทราบ
-เวียนแจ้งข้อปฏิบัติการใช้รถยนต์ราชการส่วนกลาง ในส่วนราชการทั้ง 16 แห่ง สังกัดสำนักงานเขตหนองแขม พร้อมทั้งรายงานให้ผู้บริหารทราบ รวมทั้งส่งรายงานให้สำนักอนามัยทราบ -สำรวจจำนวน และบันทึกประวัติโดยย่อของจนท.ผู้ปฏิบัติงาน ที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -จัดกิจกรรม safety talk เพื่อทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -สุ่มตรวจสอบความพร้อมการแต่งกาย อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน -จัดทำคู่มือเพื่อทบทวนความรู้ พร้อมทั้งข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยของงานที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -บันทึกสถิติการเกิดอุบัติเหตุ หรือประสบอันตรายจากการทำงาน หรือการเจ็บป่วยจากการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมรายงานสรุปประจำเดือน
-จัดกิจกรรม safety talk เพื่อทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -สุ่มตรวจสอบความพร้อมการแต่งกาย อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน -จัดทำคู่มือเพื่อทบทวนความรู้ พร้อมทั้งข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยของงานที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -บันทึกสถิติการเกิดอุบัติเหตุ หรือประสบอันตรายจากการทำงาน หรือการเจ็บป่วยจากการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมรายงานสรุปประจำเดือน -ส่งรายงานผลการปฏิบัติงานการใช้รถยนต์ราชการส่วนกลาง ในส่วนราชการทั้ง 16 แห่ง สังกัดสำนักงานเขตหนองแขม (ครั้งที่ 2) ให้สำนักอนามัย
-จัดกิจกรรม safety talk เพื่อทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -สุ่มตรวจสอบความพร้อมการแต่งกาย อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน -จัดทำคู่มือเพื่อทบทวนความรู้ พร้อมทั้งข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยของงานที่มีความเสี่ยงทั้ง 3 งาน -บันทึกสถิติการเกิดอุบัติเหตุ หรือประสบอันตรายจากการทำงาน หรือการเจ็บป่วยจากการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมรายงานสรุปประจำเดือน -ส่งรายงานผลการปฏิบัติงานการใช้รถยนต์ราชการส่วนกลาง ในส่วนราชการทั้ง 16 แห่ง สังกัดสำนักงานเขตหนองแขม (ครั้งที่ 3) ให้สำนักอนามัย -ส่งเอกสารหลักฐานต่างๆ/ผลการดำเนินงานให้แก่สำนักอนามัย ครบถ้วน
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน หน่วยงานมีการดำเนินการ ดังนี้ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะทำงานหรือคณะบุคคล 2 ประชุมคณะกรรมการ 3 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ 4 ประเมินตนเอง ตามแบบ อ.อ.1 และแบบ อ.อ.2 5 จัดลำดับความสำคัญการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน แบบ อ.อ.3 และแบบ อ.อ.4 6 สรุปผลการดำเนินการ แบบ อ.อ.5 เสนอหัวหน้าหน่วยงานรับทราบผลการดำเนินการ 7 รวบรวมเอกสาร หลักฐานการดำเนินงานของส่วนราชการโดยส่งให้หน่วยงาน หรือผู้รับผิดชอบของหน่วยงานสรุปภาพรวม
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะทำงานหรือคณะบุคคลดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5 คะแนน มีการประชุมคณะกรรมการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 10 คะแนน บุคลากรผู้รับผิดชอบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานผ่านการอบรมตามที่กรุงเทพมหานครกำหนด 15 คะแนน มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในหน่วยงาน 15 คะแนน หน่วยงานมีการประเมินตนเองตามแบบทบทวน แบบตรวจสอบการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 25 คะแนน หน่วยงานมีการจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 30 คะแนน รวม 100 คะแนน หรือร้อยละ 100
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๑ - กฎหมาย |
:๗.๑.๑ ระบบกฎหมายที่รองรับความเป็นอิสระและให้อำานาจในการบริหารจัดการและจัดบริการสาธารณะตา% |
:๗.๑.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีกฎหมายระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครใหม่ที่ |