รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน : 5023-0798

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
100
100 / 100
4
5.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- เสนอขออนุมัติโครงการคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงมาจัดทำโครงการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน - ส่งโครงการฯให้สำนักอนามัย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- เสนอขออนุมัติโครงการคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงมาจัดทำโครงการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ส่งโครงการฯให้สำนักอนามัย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2562 - อยู่ระหว่างดำเนินการปรับแก้ไขโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการให้ความรู้ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมงานเอกสาร และงานขับรถยนต์ ในวันที่ 30 มิถุนายน 2563 ณ สำนักงานเขตบางขุนเทียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ส่วนราชการของสำนักงานเขตบางขุนเทียนประกอบด้วย 10 ฝ่าย 16 โรงเรียนทบทวนวิเคราะห์ความเสี่ยงประเมินอันตรายจากการทำงาน 2. สำนักงานเขตบางขุนเทียนเทียนได้เลือกงานเพื่อจัดการความเสี่ยงจำนวน 3 งาน ได้แก่ งานพิมพ์เอกสารโดยใช้คอมพิวเตอร์งานขับรถยนต์งานต่อยอดพัฒนางานสอน 3. จัดทำโครงการการป้องกันความเสี่ยงด้านสุขภาพของบุคลากรสำนักงานเขตบางขุนเทียน 4. จัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยมีนายแพทย์แรงฤทธิ์กิตติกวินนายแพทย์ชำนาญการศูนย์บริการสาธารณสุข 52 และความรู้เรื่องกฎหมายจราจรและอบฏิบัติเกี่ยวกับการบำรุงรักษาดูแลเครื่องยนต์โดยร้อยตำรวจตรีเฉลาครุฑจูและดาบตำรวจชัชพงษ์มีชื่อมภานีตำรวจนครบาลท่าข้ามเป็นวิทยากรจำนวน 3 กลุ่ม 4.1 กลุ่มที่ 1 อบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานห้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านงานพิมพ์เอกสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ของส่วนราชการ 10 ฝ่ายของสำนักงานเขตรางขุนเทียนกลุ่มเป้าหมายเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านงานพิมพ์เอกสารโดยใช้คอมพิวเตอร์จำนวน 50 คนมีผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้นจำนวน 50 คน (คิดเป็นร้อยละ 100) เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2553 ณ ห้องประชุมมขาวสำนักงานเขตบางขุนเทียน 4.2 กลุ่มที่ 2 อบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานให้แก่เซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้นจำนวน 50 คน (คิดเป็นร้อยละ 100) เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2553 ณ ห้องประชุมแสมขาวสำนักงานเขตบางขุนเทียน 4.3 กลุ่มที่ 3 อบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานให้แก่พนักงานขับรถยนต์ของส่วนราชการ 16 ฝ่ายของสำนงานเขตบางขุนเทียนหลุ่มเป้าหมายพนักงานขับรถยนต์จานวนข้าราชการครูและบุคลากรโรงเรียนกรุงเทพมหานครในสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียนจำนวน 16 แห่งไล่มเป้าหมายข้าราชการครูและบุคลากรโรงเรียนจำนวน 50 คนซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้นจำนวน 50 คน (คิดเป็นร้อยละ 100) เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2553 เนห้องประชุมโรงเรียนวัดเสาสังกัดจำนวน 3 งานและเวียนแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงาน 20 คน 5. จัดทำข้อปฏิบัติแนวทางคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของบุคลากรใน 6. ติดตามผลความคืบหน้าปัญหาอุปสรรคข้อเสนอะแนะของการปฏิบัติตามแนวทางข้อปฏิบัติแนวทางคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าว 7. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์วิธีการและความสำเร็จของการดำเนินโครงการการป้องกันความเสี่ยงด้านสุขภาพของบุคลากรสำนักงานเขตบางขุนเทียนโดยมีหนังสือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล OR CODE 8. ประเมินผลสำเร็จของการดำเนินโครงการการป้องกันความเสี่ยงด้านสุขภาพของบุคลากรสำนักงานเขตบางขุนเทียนดังนี้ 8.1 บุคลากรผู้ปฏิบัติงานขับรถยนต์ของส่วนราชการ 10 ฝ่ายของสำนักงานเขตบางขุนเทียนเข้ารับการบรมด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ (เกินร้อยละ 85) และพนักงานขับรถยนต์ไม่ประสบอุบัติเหตุจากงานขับรถยนต์จนถึงขั้นหยุดงาน 8.2 บุคลากรผู้ปฏิบัติงานพิมพ์เอกสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ของส่วนราชการ 10 ฝ่ายของสำนักงานเขตบางขุนเทียนเข้ารับการอบรมด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเป็นเป้าหมายที่กำหนดไว้ (เกินร้อยละ 90) และผู้ปฏิบัติงานพิมพ์เอกสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ไม่ประสบอุบัติเหตุจากคนขับรถยนต์จนถึงขั้นหยุดงาน 8.3 บุคลากรผู้ปฏิบัติงานสอนโรงเรียนกรุงเทพมหานครในสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียนจำนวน 16 แห่งเข้ารับการอบรมด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกินเป้าหมายที่คนดไว้ (เกินร้อยละ 90) และผู้ปฏิบัติงานสอนไม่ประสบอุบัติเหตุจากงานขับรถยนต์จนถึงขั้นหยุดงาน 8.4 ห้องทำงานของส่วนราชการ 10 ฝ่ายมีแสงสว่างเป็นไปตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองถึงงานลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 เรื่องมาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง ร้อยละ 100 สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของหน่วยงานให้ผู้อำนวยการเขตฯ ทราบ 2. ส่งหลักฐานการดำเนินโครงการฯ ทั้งหมดให้สำนักอนามัยเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2553

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

กำหนดแผนการดำเนินงานในลักษณะต่อเนื่อง โดยต่อยอดพัฒนางาน (เดิ) และขยายผลการดำเนินงานจัดการงานที่มีความเสี่ยงสูง (เพิ่มเติม)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ 1. ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงาน คัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูง มาจัดการความเสี่ยงในการทำงานอย่างน้อย 2 งาน คัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา มาต่อยอดพัฒนา อย่างน้อย 1 งาน และนำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน พร้อมรายงานผลให้สำนักอนามัย ภายในเดือนธันวาคม 2562 2. จัดทำโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของหน่วยงาน ส่งสำเนาโครงการฯ และหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้สำนักอนามัย ภายในเดือนธันวาคม 2562 ดำเนินโครงการตามแผน พร้อมรายงานผลครั้งที่ 2 ให้สำนักอนามัยภายในเดือนเมษายน 2563 3. ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินโครงการฯ 4. จัดทำและนำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานการปฏิบัติงานฯ ไปใช้ภายในหน่วยงาน พร้อมติดตามและประเมินผลการใช้ข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานฯ ที่ดำเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 5. ดำเนินการเพื่อเป็นต้นแบบที่ดีให้หน่วยงานอื่นใช้เป็นแบบอย่าง สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติฯ ครั้งที่ 3 ให้สำนักอนามัย และจัดส่งผลการดำเนินการและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ภายในวันที่ 17 สิงหาคม 2563

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การดำเนินงาน 5 ขั้นตอน 4 ระดับ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่%
:๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง