รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของชุมชนในพื้นที่เขตมีการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน : 5024-0920

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างวางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จัดทำข้อมูลชุมชนและให้ความรู้ด้านการจัดทำแผนให้กับชุมชน จำนวน 13 ชุมชน ได้แก่ 1.ชุมชนอนามัย 2. ชุมชนศาลาร่วมใจพัฒนา 3. ชุมชนร่วมใจ 4. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 29 5. ชุมชนสมบูรณ์ทรัพย์ 6. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 31 7. ชุมชนตึก 60 ปี 8. ชุมชนซอยหมอผึ้งอุทิศ 9. ชุมชนรัตนจีนะ 10. ชุมชนแจงร้อน 11. ชุมชนเบอร์ลี่ 12. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 9 13. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 36

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จัดทำเอกสารข้อมูลชุมชนเพื่อจัดทำแผนชุมชน จำนวน 13 ชุมชน ได้แก่ 1.ชุมชนอนามัย 2. ชุมชนศาลาร่วมใจพัฒนา 3. ชุมชนร่วมใจ 4. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 29 5. ชุมชนสมบูรณ์ทรัพย์ 6. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 31 7. ชุมชนตึก 60 ปี 8. ชุมชนซอยหมอผึ้งอุทิศ 9. ชุมชนรัตนจีนะ 10. ชุมชนแจงร้อน 11. ชุมชนเบอร์ลี่ 12. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 9 13. ชุมชนสุขสวัสดิ์ 36

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนทุกชุมชนดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนของตนเอง ครบทั้ง 27 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 100 ของชุมชนทั้งหมดในเขตราษฎร์บูรณะ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ชุมชน หมายถึง ชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 แผนพัฒนาชุมชน หมายถึง ชุดของเอกสารที่แสดงให้เห็นสถานการณ์ สภาพปัญหา หรือความต้องการของชุมชน แนวทางแก้ไข โครงการ/กิจกรรม และงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานของแต่ละชุมชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนชุมชนที่มีการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนx 100 หารด้วยจำนวนชุมชนในพื้นที่เขตทั้งหมด (27 ชุมชน)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
:๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล
:๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง%
:๕.๒.๑.๑ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน “สภาประชาชนกรุงเทพมหานคร”

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง