รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี : 5025-0870

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ 100 : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ 100)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
93.95
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

/ 25/10/2561 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...เสนอโครงการ ได้รับการอนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว 1. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการร้านอาหาร 27 ราย สถานที่สะสมอาหาร 14 ราย ตลาด 6 แห่ง 2. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมี ได้แก่ บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ ไอโอเดท โพลาร์ โดยใช้ดชุดทดสอบเบื้องต้น รวมทั้งตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยใช้น้ำยา SI2 เพื่อหาสารปนเปื้อนทางด้านจุลชีววิทยา จำนวน 653 ตัวอย่าง 3. ประชาสัมพันธ์เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร / 26/11/2561 : 1. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการร้านอาหาร 20 ราย สถานที่สะสมอาหาร 1 ราย ตลาด 4 แห่ง โรงเรียน 2 แห่ง 2. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมี ได้แก่ บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ ไอโอเดท โพลาร์ โดยใช้ดชุดทดสอบเบื้องต้น รวมทั้งตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยใช้น้ำยา SI2 เพื่อหาสารปนเปื้อนทางด้านจุลชีววิทยา จำนวน 498 ตัวอย่าง 3. ประชาสัมพันธ์เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร / 21/12/2561 : 1. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการร้านอาหาร 20 ราย สถานที่สะสมอาหาร 1 ราย ตลาด 4 แห่ง โรงเรียน 14 แห่ง 2. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมี ได้แก่ บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ ไอโอเดท โพลาร์ โดยใช้ดชุดทดสอบเบื้องต้น รวมทั้งตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยใช้น้ำยา SI2 เพื่อหาสารปนเปื้อนทางด้านจุลชีววิทยา จำนวน 498 ตัวอย่าง 3. ประชาสัมพันธ์เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

.- ประชาสัมพันธ์เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร -. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของรุงเทพมหานครระดับดี จำนวน 264 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ประชาสัมพันธ์เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร -. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของรุงเทพมหานครระดับดี จำนวน 275 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-- ประชาสัมพันธ์เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร -. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของรุงเทพมหานครระดับดี จำนวน 275 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่เขตดอนเมือง ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ-หลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ 2.1 ด้านอาคารสถานที่ ต้องผ่านเกณฑ์สุขลักษณะสถานประกอบการอาหาร 2.2 ด้านความปลอดภัยของอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ดังนี้ (1) อาหารและวัตถุดิบสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพที่กำหนด ดังนี้ - ตองไมพบการปนเปอนของสารบอแรกซ สารฟอรมาลินประกอบการสารฟอกขาว และสารกันรา - ตองไมพบสีสังเคราะหในอาหาร ที่หามการใชสี - ตองไมพบกรดแรอิสระในน้ำสมสายชู - ตองไมพบยาฆาแมลง สารไอโอเดท และสารโพลาร ในน้ำมันทอดอาหารเกินเกณฑคุณภาพอาหารที่กําหนด (2) ตรวจความสะอาดของอาหารพรอมบริโภคภาชนะอุปกรณ มือผูสัมผัสอาหาร โดยใชชุดตรวจหาโคลิฟอรม แบคทีเรียเบื้องตน (SI-๒) พบการปนเปอน ไมเกินรอยละ 1๐ กรณี พบการปนเปอนสารเคมีอันตราย หรือโคลิฟอรม แบคทีเรีย ใหออกคําสั่งเจาพนักงานทองถิ่นหรือคําแนะนํา ใหผูประกอบการอาหารดําเนินการปรับปรุงแกไขใหผานเกณฑ ความปลอดภัยโดยสุมตรวจวิเคราะห์น้ำ 2.3 ดานบุคลากรผูสัมผัสอาหารตองผานการอบรมหรือการ เรียนรูดวยตนเองตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของ กรุงเทพมหานคร และผานการทดสอบความรูโดยไดรับหนังสือ รับรองและบัตรประจําตัวผูสัมผัสอาหาร ๓.รอยละความสําเร็จในการสงเสริมใหสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผานเกณฑมาตรฐานอาหารปลอดภัยของ กรุงเทพมหานคร หมายถึงรอยละความสําเร็จในการสงเสริม สนับสนุนใหสถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารใหไดตามเกณฑมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผลผลิต จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผลลัพธ์ ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร คูณด้วย 100 หาร จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่เขตดอนเมือง ที่ได้รับอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฏหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง