ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 5
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จัดเก็บขยะอันตรายได้ ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2561 จำนวน 2,640 กิโลกรัม
จัดเก็บขยะอันตรายได้ ตั้งแต่เดือน มกราคม - มีนาคม 2562 จำนวน 3,350 กิโลกรัม
จัดเก็บขยะอันตรายได้ ตั้งแต่เดือน เมษายน - มิถุนายน 2562 จำนวน 5,040 กิโลกรัม
จัดเก็บขยะอันตรายได้ ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม - กันยายน 2562 จำนวน 14,290 กิโลกรัม
1. มูลฝอยอินทรีย์ (Organic waste) สิ่งที่ย่อยสลายง่าย ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ 2. มูลฝอยอินทรีย์นำกลับไปใช้ประโยชน์ หมายถึง การนำกลับไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของมูลฝอยโดยผ่านกระบวนการแปรรูปหรือไม่ก็ได้เช่นทำปุ๋ยหมัก เลี้ยงสัตว์แปรรูป ฯลฯ 3. มูลฝอยอันตราย (Hazardous waste) หมายถึงของเสียอันตรายที่เกิดจากชุมชน ได้แก่ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ถ่านไฟฉาย/แบตเตอรี่ บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆ เช่น ยาเม็ดหมดอายุ ผงคาร์บอน เป็นต้น โดยไม่รวมของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเชื้อ และของเสียกัมมันตรังสี
1. ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่ง กำเนิดปี 2562 ลบ ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดปี 2561 หาร ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิด ปี 2561 คูณ 100 2. ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2562 ลบ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2561 หาร ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด ปี 2561 คูณ 100
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ% |
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ |