รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก : 5029-0826

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไม่พบว่ามีน้ำท่วมขัง สามารถบริหารจัดการตามเกณฑ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไม่พบว่ามีน้ำท่วมขัง สามารถบริหารจัดการตามเกณฑ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไม่พบว่ามีน้ำท่วมขัง สามารถบริหารจัดการตามเกณฑ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

? ฝนตกในพื้นที่ถนนสายหลัก 68 ครั้ง ? อยู่ในกลุ่มที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยไม่เกิน 60 มิลลิลิตร/วัน ทุกครั้ง ? มีรายงานน้ำท่วมขัง รวม 5 ครั้ง แต่สามารถระบายน้ำได้ตามกำหนด (ใช้ข้อมูลจากความแรงของฝน) สรุป การระบายน้ำจากน้ำท่วมเป็นไปตามเกณฑ์ ทั้งหมด 68 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ถนนสายหลักหมายถึงถนนทั้งหมดในพื้นที่ซึ่งสำนักงานเขตรับผิดชอบดูแลแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นผิวถนน ความสามารถระบายน้ำท่วมขัง หมายถึง ความสามารถในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นผิวถนนสามารถระบายน้ำเข้าสู่สภาวะปกคิได้ ในเวลาที่กำหนด ยกเว้นพื้นที่ที่มีการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อระบบระบายน้ำ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วัดช่วงเวลาน้ำท่วมนับจากฝนหยุดตกโดยใช้ข้อมูลสถิติที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำโดยถนนสายหลักในพื้นที่ต้องสามารถ ระบายน้ำท่วมขังภายในเวลาดังนี้ กรณีฝนตกเกิน 100 มิลลิเมตร สามารถระบายน้ำท่วมขังได้ภายใน 90 นาที กรณีฝนตกเกิน 60 แต่ไม่เกิน 100 มิลลิเมตรภ สามารถระบายน้ำท่วมขังได้ภายใน 30 นาที กรณีฝนตกเกิน ไม่เกิน 60 มิลลิเมตร ไม่มีน้ำท่วมขัง การคำนวณ จำนวนครั้งที่ระบายน้ำได้ตามเกณฑ์ คูณ 100 หารด้วย จำนวนครั้งที่ฝนตกและมีน้ำท่วมขัง การให้คะแนน ร้อยละ 100 ได้ 10 คะแนน ร้อยละ 90 -99 ได้ 8 คะแนน ร้อยละ 80-89 ได้ 6 คะแนน ร้อยละ 70-79 ได้ 4 คะแนน ร้อยาละ 60-69 ได้ 2 คะแนน ต่ำกว่าร้อยละ 60 ได้ 0 คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง